แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2558
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์เพื่อพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะของนักเรียนและครูผู้สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รุ่นที่ 2
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : เสริมสร้างความเข้มแข็งของการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่เป้าหมาย เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของเด็ก เยาวชนและชุมชน
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้แก่ชุมชน ร่วมกับหน่วยงานราชการ ภาครัฐ ภาคธุรกิจ เอกชน
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายผดุง กิจแสวง คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
ประสบการณ์ : วิจัยและสอนปฏิบัติการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 18 ปี
ความเชี่ยวชาญ : - Microcontroller application - Embebded system - PLC application - Electrical Machine Drive and Control
หัวหน้าโครงการ
นายธนกร ลิ้มสุวรรณ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : วศม.สาขาวิศวกรรมเครื่องกล(พลังงาน) มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ประสบการณ์ : อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
ความเชี่ยวชาญ : เซลล์สุริยะ ไมโครคอนโทลเลอร์ ระบบควบคุม โปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผู้ร่วมโครงการ
นายอุทัย สุขสิงห์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : RS & GIS
ประสบการณ์ : อาจารย์สอนในมหาวิทยาลัย 30 ปี
ความเชี่ยวชาญ : GIS Electronic Programcomputer Microcontrol
ผู้ร่วมโครงการ
นายสมนึก เวียนวัฒนชัย คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : อิเล็กทรอนิกส์โทรคมนาคม
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
การจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ การสอนโครงงานสร้างสิ่งประดิษฐ์ การสอนการงานพื้นฐานและอาชีพในโรงเรียนระดับต่างๆ มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น ตามระดับของการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งนับวันแต่จะกว้างขวางและลุ่มลึกยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในปัจจุบันประเทศไทยจะต้องเตรียมให้พร้อมเพื่อการก้าวสู่ความเป็นสมาชิกสมาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทยมีความจำเป็นจัดเตรียมด้านต่างๆ เพื่อสร้างความพร้อมแก่การจัดการศึกษาระดับต่างๆ ให้แก่ครูและนักเรียน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันด้านต่างๆ อย่างเท่าทัน การเรียนรู้ด้านอุปกรณ์และวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจำเป็นอย่างยิ่งต้อง ทดลองปฏิบัติการเพื่อพิสูจน์สมมุติฐานและทฤษฎีพร้อมกับเพิ่มทักษะแก่ผู้เข้าอบรม คณะผู้รับผิดชอบโครงการได้เร่งเห็นความสำคัญดังกล่าวจึงได้เสนอโครงการบริการ อบรมเชิงปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์เพื่อพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะครูผู้สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รุ่นที่ 2 ขึ้นเป็นการเพิ่มศักยภาพและสมรรถนะคุณครูที่สอนในวิชาดังกล่าว และนักเรียนที่มีความสนใจได้เรียนรู้เทคโนโลยีด้านนี้ เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนให้เกิดความสนใจและจุดประกายแนวความคิดในด้านเทคโนโลยีและนำความรู้ไปต่อยอดกับการสร้างโครงงานวิทยาศาสตร์เป็นการบูรณาการศาสตร์เป็นการหลอดความรู้ด้านอิเล็กทรอนิกส์ ดิจิตอล เซนเซอร์และระบบควบคุมอัตโนมัติ นอกจากนี้ยังเป็นการสร้างเครือข่ายทางวิชาการกับหน่วยงานภายนอกในการจัดกิจกรรมร่วมกันและเป็นการประชาสัมพันธ์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ให้เป็นที่รู้จักมากขึ้นในกลุ่มของโรงเรียนภายในจังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดในเขตพื้นทีบริการ

วัตถุประสงค์
1.รู้จักอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และการทำงานวงจรอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน
2. ทำงานวงจรอิเล็กทรอนิกส์ร่วมกับเซนเซอร์
3.ใช้วงจรอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐานสร้างโครงงานสิ่งประดิษฐ์
4. รู้จักกับการออกแบบลายวงจรพิมพ์และการประกอบวงจรจริง
5. ผู้ที่เข้าร่วมโครงการนำความรู้ไปเผยแพร่ให้นักเรียนสร้างโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
1. ครู-อาจารย์และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาโรงเรียนเครือข่ายเขตพื้นที่รับผิดชอบมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2. ครู-อาจารย์และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาโรงเรียนในจังหวัดอุบลราชธานี
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
40 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. เสนอโครงการ 2. อนุมัติโครงการ 3. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานฯ 4. ประชาสัมพันธ์โครงการฯ 5. รับสมัครผู้เข้าร่วมการอบรมโครงการฯ นักเรียน-นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการต้องส่งหัวข้อโครงงานตามโจทย์ที่คณะกรรมการกำหนด 6. คณะกรรมการพิจารณาตัดสินหัวข้อโครงงานที่เข้าร่วมการอบรมโครงการฯ 7. ติดต่อผู้เข้าร่วมฝึกอบรมและวิทยากร 8. ซื้ออุปกรณ์การทดลองและจ้างเหมาสร้างชุดฝึกทดลอง 9. จัดฝึกอบรมตามโครงการฯ 10. ประเมินผลโครงการฯหลังการอบรม 11. สรุปและจัดทำรายงานของโครงการ

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2557
2558
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.เสนอโครงการ/อนุมัติโครงการ - --- --- --- 98,500.00
2.ประชาสัมพันธ์โครงการฯ/รับสมัครผู้เข้าร่วมการอบรมโครงการฯ -- -- --- --- 0.00
3.ติดต่อผู้เข้าร่วมฝึกอบรมและวิทยากร/จัดซื้อวัสดุและจ้างสร้างชุดฝึกทดลอง -- - --- --- 0.00
4.จัดฝึกอบรมตามโครงการฯ/ประเมินผลโครงการฯหลังการอบรม --- - --- --- 0.00
5. สรุปและจัดทำรายงานของโครงการฯ --- -- -- --- 0.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 - 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 รวมเวลา 3 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
08.30-09.00 พิธีเปิด คณบดีคณะวิศวฯ
25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
14.50–16.00 น. การต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น การวัดและการทดสอบการทำงานวงจร (2) นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
14.30–14.50 น. พักรับประทานอาหารว่าง
25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
13.00–14.30 น. การต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น การวัดและการทดสอบการทำงานวงจร (1) นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
12.00–13.00 น. พักรับประทานอาหารเที่ยง
25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
10.20–12.00 น. ทดลองวงจรทางไฟฟ้าและ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
10.00–10.20 น. พักรับประทานอาหารว่าง
25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
09.00-10.00 ความเป็นมาของเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ รศ.อุทัย สุขสิงห์
26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
14.50–16.00 น. การสร้างโครงงานสิ่งประดิษฐ์ ประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส์บนแผ่นวงจรพิมพ์ และการทดสอบ (1) นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
14.30–14.50 น. พักรับประทานอาหารว่าง
26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
13.00–14.30 น. เรียนรู้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ การเขียนแบบแผนผังวงจรอิเล็กทรอนิกส์พื้นฐาน นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
12.00–13.00 น. พักรับประทานอาหารเที่ยง
26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
10.50–12.00 น. การต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ การวัดและการทดสอบการทำงานวงจร (4) นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
10.30–10.50 น. พักรับประทานอาหารว่าง
26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
08.30–10.30 น. การต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ การวัดและการทดสอบการทำงานวงจร (3) นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
14.30–14.50 น. พักรับประทานอาหารว่าง
27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
13.00–14.30 น. ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
12.00–13.00 น. พักรับประทานอาหารเที่ยง
27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
10.50–12.00 น. ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
10.30–10.50 น. พักรับประทานอาหารว่าง นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
08.30–10.30 น. การสร้างโครงงานสิ่งประดิษฐ์ ประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส์บนแผ่นวงจรพิมพ์ และการทดสอบ (2) นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
14.30–16.00 น. ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการออกแบบวงจรพิมพ์เบื้องต้น นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : -สามารถให้ครู-นักเรียนที่สนใจเข้าร่วมโครงการเพื่อลดช่องว่างของความเหลื่อมล้ำทางด้านเทคโนโลยีของโรงเรียนในเขตอีสานใต้ 2. เกิดความร่วมมือทางวิชาการและการจัดกิจกรรมร่วมกัน ระหว่างคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในเขตอีสานใต้
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -1. เป็นการเสริมสร้างพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะให้ครู-นักเรียนมีความรู้ด้านอิเล็กทรอนิกส์ในการสร้างสรรค์โครงงานและสิ่งประดิษฐ์และเกิดการตื่นตัวในด้านเทคโนโลยีด้านนี้มากขึ้น 2. ครูอาจารย์ที่เข้าร่วมโครงการเตรียมให้พร้อมเพื่อการก้าวสู่ความเป็นสมาชิกสมาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 ด้านเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
35
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
2462.5บาท/คน

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา วิชา 1306 241 วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
หลักสูตร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
นักศึกษาชั้นปี : นักศึกษาชั้นปีที่ 2
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ร้อยละ 80 ของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เพิ่มขึ้น
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด ร้อยละ 20 ของนักศึกษาที่มีส่วนร่วมในการให้บริการวิชาการ
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ จัดทำรายงานสรุปส่ง

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 29,500.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 27,000.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 27,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
1,800.00 บาท
2) จำนวน 1 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
3,600.00 บาท
3) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
21,600.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 2,500.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 2,500.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 5 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 5 คน
=
2,500.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 19,500.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 6,000.00 บาท )
1) จำนวน 6 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 40 คน
=
6,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 12,000.00 บาท )
1) จำนวน 3 มื้อ x มื้อละ 100.00 บาท x จำนวน 40 คน
=
12,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 1,500.00 บาท )
1) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง) ไวนิล
=
1,500.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 49,500.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 45,000.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
0 แผ่น x 0.50 บาท
=
0.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
5,000.00 บาท
=
5,000.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
40 คน x 1,000.00 บาท
=
40,000.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 4,500.00 บาท )
1) เอกสารประกอบการอบรม
=
4,500.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 98,500.00 บาท