แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2558
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ การประยุกต์ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์กับโครงงานวิทยาศาสตร์รุ่นที่ 6
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : พัฒนาระบบและกลไกการบริหารงานบริการวิชาการให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดการบูรณาการกับการวิจัยและการเรียนการสอน
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้แก่ชุมชน ร่วมกับหน่วยงานราชการ ภาครัฐ ภาคธุรกิจ เอกชน
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายสมนึก เวียนวัฒนชัย คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : อิเล็กทรอนิกส์โทรคมนาคม
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
ผู้ร่วมโครงการ
นายอุทัย สุขสิงห์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : RS & GIS
ประสบการณ์ : อาจารย์สอนในมหาวิทยาลัย 30 ปี
ความเชี่ยวชาญ : GIS Electronic Programcomputer Microcontrol
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
ในการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจำเป็นอย่างยิ่งต้องมีการทดลองเพื่อพิสูจน์สมมุติฐานเครื่องมืออุปกรณ์ที่มีความถูกต้องแหม่นยำจะมีราคาค้อนข้างสูง ทำให้โรงเรียนที่มีงบประมาณไม่มากไม่สามารถมีเครื่องมือดังกล่าวใช้ในการทดลองได้ เป็นผลกระทบต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะผู้รับผิดชอบโครงการได้เร่งเห็นความสำคัญดังกล่าวจึงได้เสนอโครงการบริการ อบรมเชิงปฏิบัติการการประยุกต์ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์กับโครงงานวิทยาศาสตร์ขึ้น เพื่อเป็นเครื่องมือที่ราคาถูกมีความถูกต้องแหม่นยำ ที่ใช้ในการทดลองและสร้างโครงงานวิทยาศาสตร์ เป็นการขยายโอกาสทางการศึกษาให้กับนักเรียนที่มีความสนใจได้เรียนรู้เทคโนโลยีด้านนี้ เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนให้เกิดความสนใจและจุดประกายแนวความคิดในด้านเทคโนโลยีด้านการประยุกต์ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์และนำความรู้ต่อยอดกับการสร้างโครงงานวิทยาศาสตร์เป็นการบูรณาการศาสตร์เป็นการหลอดความรู้ด้านอิเล็กทรอนิกส์ ดิจิตอล ไมโครคอนโทรลเลอร์ เซนเซอร์และระบบควบคุมอัตโนมัติ เป็นการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียนในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสืบเนื่องจากภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ได้จัดโครงการบริการวิชาการการประยุกต์ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์กับโครงงานวิทยาศาสตร์รุ่นที่ 1-5 ที่ผ่านมานั้นสำเร็จลุล่วงด้วยดี ได้การตอบรับจากคณะครูอาจารย์ นักเรียนในจังหวัดอุบลราชธานีและจังหวัดเขตพื้นที่รับผิดชอบของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีจำนวนมาก นอกจากนี้ยังเป็นการสร้างเครือข่ายทางวิชาการกับหน่วยงานภายนอกในการจัดกิจกรรมร่วมกันและเป็นการประชาสัมพันธ์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ให้เป็นที่รู้จักมากขึ้นในกลุ่มของโรงเรียนภายในจังหวัดอุบลราชธานี

วัตถุประสงค์
1. เพื่อเป็นการขยายโอกาสให้กับครู-นักเรียนระดับมัธยมศึกษาและอาชีวศึกษาภายในจังหวัดอุบลราชธานีที่มีความสนใจ ได้เข้ามาศึกษาและเรียนรู้การสร้างโครงงานวิทยาศาสตร์ด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์
2.เพื่อกระตุ้นให้ครู-นักเรียน นักศึกษาเกิดความสนใจและจุดประกายแนวความคิดสร้างสรรค์ด้านการสร้างโครงงานวิทยาศาสตร์ด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์
3.นักเรียน- นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการนำความรู้สร้างโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์เพื่อแข่งขันในงานถนนเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาเขตพื้นที่รับผิดชอบมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (อีสานใต้) 2. นักศึกษาอาชีวศึกษาภายในจังหวัดอุบลราชธานี
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
50 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. เสนอโครงการ/อนุมัติโครงการ 2.ประชาสัมพันธ์โครงการฯ/รับสมัครผู้เข้าร่วมการอบรมโครงการฯ 3. ติดต่อผู้เข้าร่วมฝึกอบรมและวิทยากร/ซื้อวัสดุฝึกทดลอง 4. จัดฝึกอบรมตามโครงการฯ 5. ประเมินผลโครงการฯ 6. สรุปและจัดทำรายงานของโครงการฯ

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2557
2558
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.เสนอโครงการ/อนุมัติโครงการ --- --- --- 113,800.00
2.ประชาสัมพันธ์โครงการฯ/รับสมัครผู้เข้าร่วมการอบรมโครงการฯ --- --- --- 0.00
3.ติดต่อผู้เข้าร่วมฝึกอบรมและวิทยากร/จัดซื้อวัสดุและจ้างสร้างชุดฝึกทดลอง --- --- --- 0.00
4.จัดฝึกอบรมตามโครงการฯ/ประเมินผลโครงการฯหลังการอบรม --- -- -- --- 0.00
5.สรุปและจัดทำรายงานของโครงการฯ --- --- - --- 0.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2558 - 29 มีนาคม พ.ศ. 2558 รวมเวลา 3 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
27 มีนาคม พ.ศ. 2558
08.00-08.30 น. ลงทะเบียน
27 มีนาคม พ.ศ. 2558
14.50–16.30 น. การเขียนโปรแกรมควบคุมความแสงและความสว่าง นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
27 มีนาคม พ.ศ. 2558
14.30–14.50 น. รับประทานอาหารว่าง
27 มีนาคม พ.ศ. 2558
13.00–14.30 น. การเขียนโปรแกรมติดต่อและควบคุมรีเลย์และควบคุมมอเตอร์ นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
27 มีนาคม พ.ศ. 2558
12.00–13.00 น. รับประทานอาหารเที่ยง
27 มีนาคม พ.ศ. 2558
9.50–12.00 น. โครงสร้างไมโครคอนโทรลเลอร์และการพัฒนา การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาซีเพื่อพัฒนา การเขียนโปรแกรมควบ นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
27 มีนาคม พ.ศ. 2558
9.30–09.50 น. รับประทานอาหารว่าง
27 มีนาคม พ.ศ. 2558
08.30-09.30 น. เทคโนโลยีและความก้าวหน้าเทคโนโลยีไมโครคอนโทรลเลอร์ และโครงงานวิทยาศาสตร์ รศ.อุทัย สุขสิงห์
28 มีนาคม พ.ศ. 2558
14.50–16.30 น. เขียนโปแกรมรับข้อมูลจากเซนเซอร์ตรวจจับควันและจับแก็สชนิดต่างๆและระบบแจ้งเตือนภัย นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
28 มีนาคม พ.ศ. 2558
14.30–14.50 น. รับประทานอาหารว่าง
28 มีนาคม พ.ศ. 2558
13.00–14.30 น. การเขียนโปรแกรม วัดความเร็ว แรงกด วัดระดับสี เสียง นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
28 มีนาคม พ.ศ. 2558
12.00–13.00 น. รับประทานอาหารเที่ยง
28 มีนาคม พ.ศ. 2558
10.50–12.00 น. การเขียนโปรแกรมรับข้อมูลจากเซนเซอร์วัดอุณหภูมิ,ความชื้น,แสง นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
28 มีนาคม พ.ศ. 2558
10.30–10.50 น. รับประทานอาหารว่าง
28 มีนาคม พ.ศ. 2558
08.30–10.30 น. การเขียนโปรแกรมควบคุมแสดงผลบน (GLCD) นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
29 มีนาคม พ.ศ. 2558
14.30–14.50 น. รับประทานอาหารว่าง
29 มีนาคม พ.ศ. 2558
13.00–14.30 น. สร้างโครงงานวิทยาศาสตร์ด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์เพื่อประหยัดพลังงานไฟฟ้า นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
29 มีนาคม พ.ศ. 2558
12.00–13.00 น. รับประทานอาหารเที่ยง
29 มีนาคม พ.ศ. 2558
10.50–12.00 น. การเขียนโปรแกรมรับข้อมูลจากเซนเซอร์วัดอุณหภูมิ,ความชื้น,แสง นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
29 มีนาคม พ.ศ. 2558
10.30–10.50 น. รับประทานอาหารว่าง
29 มีนาคม พ.ศ. 2558
08.30–10.30 น. สร้างโครงงานวิทยาศาสตร์ด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์เพื่อระบบความคุมอัตโนมัติและระบบสื่อสารไร้สาย นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
29 มีนาคม พ.ศ. 2558
14.50–16.30 น. สร้างโครงงานวิทยาศาสตร์ด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์เพื่ออำนวยสะดวกในบ้านและเตือนภัย นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ :
ด้านสังคม : 1. เป็นการเสริมสร้างให้ครู-นักเรียนมีการประยุกต์ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์แก้ปัญหาการทดลองทางวิทยาศาสตร์และเกิดการตื่นตัวในด้านเทคโนโลยีด้านนี้มากขึ้น 2. สามารถให้ครู-นักเรียนที่สนใจเข้าร่วมโครงการเพื่อลดช่องว่างของความเหลื่อมล้ำทางด้านเทคโนโลยีของโรงเรียนในเขตอีสานใต้ 3. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ด้านการสร้างโครงงานวิทยาศาสตร์ด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์เพิ่มขึ้น 4. เกิดความร่วมมือทางวิชาการและการจัดกิจกรรมร่วมกัน ระหว่างคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในเขตอีสานใต้
ด้านสิ่งแวดล้อม :
ด้านอื่นๆ :

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
50
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
2078.33บาท/คน

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา 1306 434 ปฏิบัติการไมโครคอนโทรลเลอร์
หลักสูตร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
นักศึกษาชั้นปี : นักศึกษาชั้นปีที่ 3
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ร้อยละ 80 ของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด ร้อยละ 10 ของนักศึกษาที่มีส่วนร่วมในโครงการให้บริการวิชาการ
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ จำนวนโครงงานของนักศึกษาที่ได้จากการบริการวิชาการอย่างน้อย 5 โครงงาน

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 38,800.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 31,600.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 31,600.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 1 ชม. x ชม.ละ 1,000.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
1,000.00 บาท
2) จำนวน 1 วัน x จำนวน 5 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
9,000.00 บาท
3) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
21,600.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 7,200.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันหยุดราชการ ( รวม 7,200.00 บาท )
1) จำนวน 4 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 5 คน
=
7,200.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 29,800.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 7,500.00 บาท )
1) จำนวน 6 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 50 คน
=
7,500.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 15,000.00 บาท )
1) จำนวน 3 มื้อ x มื้อละ 100.00 บาท x จำนวน 50 คน
=
15,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 7,300.00 บาท )
1) จำนวน 1 คน x จำนวน 1 เดือน x เดือนละ 7,300.00 บาท
=
7,300.00 บาท

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 45,200.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 41,200.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
0 แผ่น x 0.50 บาท
=
0.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
5,000.00 บาท
=
5,000.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
1,200.00 บาท
=
1,200.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
50 คน x 700.00 บาท
=
35,000.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 4,000.00 บาท )
1) เอกสารประกอบการอบรม
=
4,000.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 113,800.00 บาท