แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2558
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน วิทยาเขตมุกดาหาร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ โครงการการพัฒนาเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน สำหรับกลุ่มผลิตสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (โอท็อป) ในจังหวัดมุกดาหาร ปีที่ 1 (โครงการชุด)
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับชุมชน หน่วยงานของรัฐ ตลอดจนภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม เพื่อการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็ง ความมั่นคงด้านอาชีพ มุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพในด้านต่าง ๆ ของกลุ่มเกษตรกร กลุ่มผู้ประกอบการ SMEs / OTOP
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นางสาวมนัสดา ชัยสวนียากรณ์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : สาขาการบัญชีบริหาร(Managerial Accounting)
ประสบการณ์ : การบัญชีภาษีอากร/การบัญชีภาคธุรกิจผลิต/การบัญชีธุรกิจบริการ/การบัญชีกิจการซื้อมาขายไป/การวางระบบบัญชี/การจัดทำบัญชีด้วยโปรแกรมบัญชีสำเร็จรูป Express/Autoflight/Easy Acc
ความเชี่ยวชาญ : การบัญชีภาษีอากร/การบัญชีภาคธุรกิจผลิต/การบัญชีธุรกิจบริการ/การบัญชีกิจการซื้อมาขายไป/การวางระบบบัญชี/การจัดทำบัญชีด้วยโปรแกรมบัญชีสำเร็จรูป Express/Autoflight/Easy Acc
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาววิลาสินี แสงคำพระ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : การบัญชี
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
ผู้ร่วมโครงการ
นายธวัชชัย สลางสิงห์ คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : -
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวอัจฉรา อรรคนิตย์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : Master of Commerce (Information System & Technology
ประสบการณ์ : "1.Tutor สอนวิชา Business English Technical Vocation Institue Alburquerque New Mexico USA 2. Web Expenses Oracle Coorperation Sydney Australia 3. Assistant Manager Sydney Australia"
ความเชี่ยวชาญ : ภาษาอังกฤษ
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวปวีณา ทองบุญยัง คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : บริหารธุรกิจ
ประสบการณ์ : วิทยากรการอบรมการเขียนแผนธุรกิจ และด้านงานวิจัย
ความเชี่ยวชาญ : ด้านบริหารธุรกิจ
ผู้ร่วมโครงการ
นายเกียรติกุล กุลตังวัฒนา คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : บริหารธุรกิจ
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
ผู้ร่วมโครงการ
นายวรยุทธ วงศ์นิล คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : Artificial Intelligence Computer Programming กิจกรรมนักศึกษา
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวสุภัตราภรณ์ สายสมบูรณ์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : การจัดการอุตสาหกรรม
ประสบการณ์ : นักวิจัยการตลาด นักบริหารคุณภาพ
ความเชี่ยวชาญ : วิจัยการตลาด บริหารคุณภาพ
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
ในปี 2556 มีปัจจัยลบทั้งภายในและภายนอกที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย หากไม่มีการเตรียมความพร้อมรับมือให้ดีถือว่ามีความเสี่ยงสูงมาก ปัจจัยลบที่จะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย มาจากความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจโลก ทั้งปัญหาหนี้สาธารณะในยุโรป ปัญหาเศรษฐกิจสหรัฐที่ยังไม่ฟื้นตัว ส่วนปัจจัยลบภายในประเทศ อยู่ที่เสถียรภาพทางการเมือง โดยเฉพาะการออกมาชุมนุมประท้วง หากยืดเยื้อและรุนแรงจะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ภัยธรรมชาติ การขาดแคลนแรงงานในบางอุตสาหกรรม ที่สำคัญปัญหาต้นทุนที่เพิ่มสูงขึ้นจากการปรับค่าแรงวันละ 300 บาททั่วประเทศ รวมไปถึงการปรับขึ้นของค่าพลังงาน ทั้งน้ำมัน ไฟฟ้า ค่าขนส่ง เป็นต้น ซึ่งกลุ่มผลิตสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (โอท็อป) ก็ประสบปัญหาเช่นเดียวกัน กลุ่มผลิตสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (โอท็อป)เป็นกลุ่มผลิตสินค้าในท้องถิ่นที่ได้รับการหน่วยงานของรัฐ โดยมุ่งหวังในการแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ ของประชาชนทุกระดับ เพื่อให้ชุมชนได้ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการพัฒนาสินค้า โดยได้รับการส่งเสริมความรู้สมัยใหม่ และการบริหารจัดการเพื่อเชื่อมโยงสินค้าจากชุมชนสู่ตลาดในประเทศและต่างประเทศด้วยระบบเครือข่ายร้านค้าและอินเตอร์เน็ต เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนชุมชนให้เข้มแข็ง พึงตนเองได้ และประชาชนมีส่วนร่วมในการสร้างรายได้โดยนำทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาพัฒนาให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ มีจุดเด่น สร้างมูลค่า เป็นที่ต้องการของตลาด แต่ปัจจุบันพบว่ากลุ่มฯดังกล่าวยังประสบปัญหาในด้านการบริหารจัดการ ด้านการบัญชี การเงิน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เนื่องจากผู้บริหาร และสมาชิกในกลุ่มยังขาดทักษะ และความรู้ ด้านการบริหารจัดการ ด้านการบัญชี การเงิน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ส่งผลให้ไม่สามารถเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันได้ ด้วยเหตุนี้ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วิทยาเขตมุกดาหาร จึงได้จัดทำโครงการการพัฒนาเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน สำหรับกลุ่มผลิตสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (โอท็อป) ในจังหวัดมุกดาหาร ปีที่ 1 เพื่อกลุ่มผลิตสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (โอท็อป) ในจังหวัดมุกดาหาร เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันให้ดีขึ้นจากองค์ความรู้ที่ได้รับไปจากโครงการ อันจะส่งผลให้กลุ่มผลิตสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (โอท็อป) ในจังหวัดมุกดาหาร มีความเข้มแข็ง และสามารถพึงตนเองได้ และเกิดความยั่งยืนต่อไป

วัตถุประสงค์
1.เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันให้ดีขึ้น ของกลุ่มผลิตสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (โอท็อป) ในจังหวัดมุกดาหาร ให้มีความเข้มแข็ง และสามารถพึงตนเองได้ และเกิดความยั่งยืนต่อไป
2.เพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มผลิตสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (โอท็อป) ในจังหวัดมุกดาหาร และมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วิทยาเขตมุกดาหาร

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มจักสานตะกล้าพลาสติก คือ 1.กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสานตะกร้าพลาสติกบ้านม่วงไข่ 11 หมู่ 2 บ้านม่วงไข่ ตำบลนิคมคำสร้อย อำเภอนิคมคำสร้อย จังหวัดมุกดาหาร 49130 2.กลุ่มวิสาหกิจชุมชน 84 หมู่ 2 ตำบลนิคมคำสร้อย อำเภอนิคมคำสร้อย จังหวัดมุกดาหาร 49130
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
40 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ 1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ 1.1 เสนอโครงการ 1.2 ดำเนินตามโครงการ 1.2.1 จัดประชาสัมพันธ์ “โครงการการพัฒนาเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน สำหรับกลุ่มผลิตสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (โอท็อป) ในจังหวัดมุกดาหาร ปีที่ 1” 1.2.2ประชาสัมพันธ์ผ่าน www.muk.ubu.ac.th และไวนิลประชาสัมพันธ์ 1.2.2.1 ส่งหนังสือให้พัฒนาชุมชน จังหวัดมุกดาหาร เพื่อประสานงานขอความร่วมมือกลุ่มผลิตสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (โอท็อป) ในจังหวัดมุกดาหาร ” 1.2.3 จัดเตรียมความพร้อมก่อนการจัดอบรม 1.2.3.1 จัดเตรีมสถานที่สำหรับการอบรม 1.2.3.2 จัดเตรีมทีมวิทยากรประกอบด้วย 1) อาจารย์สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ จำนวน 4 ท่าน 2) อาจารย์สาขาวิชาบัญชี จำนวน 5 ท่าน 3) อาจารย์สาขาวิชาการจัดการ 5 ท่าน 4) นักศึกษาสาขาทั้ง 3 สาขาวิชา จำนวน 6 คน 1.2.3.3 จัดเตรียมอาหารกลางวัน และอาหารว่าง 1.2.4 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 4 วัน 1.2.4.1 จัดแบ่งผู้เข้าอบรมเป็น 4 กลุ่ม การเรียนรู้ 1) จัดฐานการเรียนรู้ เป็น 4 กลุ่ม - กลุ่มการเรียนรู้ การบริหารจัดการ - กลุ่มการเรียนรู้ การบัญชีและการเงิน - กลุ่มการเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 2) จัดให้ผู้อบรม เข้าอบรมทุกฐานการเรียนรู้โดย 1 ฐานการเรียนรู้ใช้เวลา 1 วัน 3) จัดให้ผู้เข้าอบรมได้มีโอกาสแสดงความคิดสร้างสรรค์เต็มศักยภาพของผู้เข้าอบรม โดยกำหนดกรอบการทำงาน 4) ปิดการอบรม “โครงการการพัฒนาเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน สำหรับกลุ่มผลิตสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (โอท็อป) ในจังหวัดมุกดาหาร ปีที่ 1" 1.3 เก็บข้อมูลเพื่อหาผลสัมฤทธิ์ของการทำโครงการ 1.4 จัดทำแบบประเมินของโครงการ

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2557
2558
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.จัดประชาสัมพันธ์"โครงการการพัฒนาเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน สำหรับกลุ่มผลิตสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (โอท็อป) ในจังหวัดมุกดาหาร ปีที่ 1" --- -- - --- 10,000.00
2.จัดเตรียมความพร้อมก่อนการจัดอบรม --- --- -- --- 45,000.00
3.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 4 วัน --- --- -- --- 106,500.00
4.จัดทำแบบประเมินระบบงานในโครงการ --- --- -- --- 0.00
5.เก็บข้อมูลจากแบบประเมินระบบงานในโครงการ --- --- -- --- 0.00
6.สรุปข้อมูลจากแบบประเมินระบบงานในโครงการ --- --- --- -- 0.00
7.สรุปโครงการเสนอผู้บริหาร --- --- --- -- 0.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2558 - 26 มิถุนายน พ.ศ. 2558 รวมเวลา 152 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
25 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
09.00 - 09.30 กล่าวเปิดงาน ผู้อำนวการโครงการจัด ตั้งวิทยาเขตมุกดาหาร /วิทยากรพิเศษ
25 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
09.30 - 10.30 การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน คณะวิทยากร
25 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
10.30 - 10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
25 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
10.45 - 12.00 การจัดทำงบประมาณขาย งบประมาณกำไร คณะวิทยากร
25 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
12.00 - 13.00 รับประทานอาหารกลางวัน
25 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
13.00 - 14.30 แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 10 คน เพื่อจัดทำงบประมาณขาย งบประมาณกำไร และ วิเคราะห์จุดคุ้มทุน คณะวิทยากร
25 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
14.30 - 14.45 พักรับประทานอาหารว่าง
25 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
14.45 - 16.30 แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 10 คน เพื่อจัดทำงบประมาณขาย งบประมาณกำไร และ วิเคราะห์จุดคุ้มทุน พร้อมนำเสนอ (ต่้่ คณะวิทยากร
25 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
08.30 - 09.00 ลงทะเบียน คณะดำเนินงาน
26 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
08.30 - 09.00 ลงทะเบียน
26 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
09.00 - 10.45 อบรมการสร้างแบรนด์ คณะวิทยากร
26 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
10.30 - 10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
26 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
10.45 - 12.00 แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 10 คน เพื่อจัดทำการสร้างแบรนด์ คณะวิทยากร
26 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
12.00 - 13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
26 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
13.00 - 14.30 แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 10 คน เพื่อจัดทำการสร้างแบรนด์ (ต่อ) คณะวิทยากร
26 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
14.30 - 14.45 พักรับประทานอาหารว่าง
26 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
14.45 - 16.30 แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 10 คน เพื่อจัดทำการสร้างแบรนด์ (ต่อ) คณะวิทยากร
27 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
08.30 - 09.00 ลงทะเบียน
27 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
09.00 - 10.45 อบรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการธุรกิจ คณะวิทยากร
27 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
10.30 - 10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
27 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
10.45 - 12.00 อบรบระบบพาณิชอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น คณะวิทยากร
27 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
12.00 - 13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
27 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
13.00 - 14.30 จัดทำระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ฺ คณะวิทยากร
27 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
14.30 - 14.45 พักรับประทานอาหารว่าง
27 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
14.45 - 16.30 จัดทำระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (ต่อ) คณะวิทยากร
28 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
08.30 - 09.00 ลงทะเบียน
28 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
09.00 - 10.45 จัดทำระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (ต่อ) คณะวิทยากร
28 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
10.30 - 10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
28 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
10.45 - 12.00 จัดทำระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ฺ (ต่อ) และเตรียมพร้อมนำเสนอ คณะวิทยากร
28 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
12.00 - 13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
28 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
13.00 - 14.30 นำเสนอระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คณะวิทยากร
28 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
14.45 - 16.30 มอบใบประกาศแด่กลุ่มผู้เข้าร่วมโครงการ และหัวหน้าโครงการกล่าวปิดโครงการ คณะวิทยากร/ หัวหน้าโครงการ

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : กลุ่มผู้ผ่านการฝึกอบรม(มีเวลาในการฝึกอบรมไม่น้อยกว่า 80 % สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน หรือถ่ายความรู้ให้แก่ผู้อื่นได้ และสร้างรากฐานและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ด้านสังคม : เป็นการถ่ายทอดความรู้จากสถาบันการศึกษาสู่ชุมชน และก่อให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างมหาวิทยาลัยและชุมชน
ด้านสิ่งแวดล้อม : เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
ด้านอื่นๆ : เพิ่มขีดความสามารถให้แก่คณาจารย์ในการถ่ายทอดองค์ความรู้ -ตอบสนองเป้าประสงค์ตามกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัยและของประเทศชาติในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้มีคุณค่าเชิงวิชาการและเป็นกำลังของชาติได้เป็นอย่างดี

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
40
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
ดำเนินการให้มีประสิทธิภาพ ภายใต้งบประมาณที่ได้รับการจัดสรร

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา 1701 311 การจัดการธุรกิจขนาดย่อม
หลักสูตร บริหารธุรกิจ
นักศึกษาชั้นปี : 3
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ร้อยละ 10 ของนักศึกษาทั้งชั้นเรียน
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด ร้อยละ 10 ของนักศึกษาทั้งชั้นเรียน
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ ร้อยละ 10 ของนักศึกษาทั้งชั้นเรียน
แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา 1707 220 การบัญชีต้นทุน / 1707 320 การบัญชีบริหาร
หลักสูตร บัญชีบัณทิต
นักศึกษาชั้นปี : 2 / 3
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ร้อยละ 10 ของนักศึกษาทั้งชั้นเรียน
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด ร้อยละ 10 ของนักศึกษาทั้งชั้นเรียน
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ ร้อยละ 10 ของนักศึกษาทั้งชั้นเรียน
แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา 1106 301 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
หลักสูตร เทคโนโลยีสารสนเทศ
นักศึกษาชั้นปี : 2 / 3
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ร้อยละ 10 ของนักศึกษาทั้งชั้นเรียน
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด ร้อยละ 10 ของนักศึกษาทั้งชั้นเรียน
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ ร้อยละ 10 ของนักศึกษาทั้งชั้นเรียน

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 79,000.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 61,200.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 61,200.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 4 คน
=
14,400.00 บาท
2) จำนวน 1 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 5 คน
=
18,000.00 บาท
3) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 4 คน
=
28,800.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 14,200.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 14,200.00 บาท )
1) จำนวน 6 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 6 คน
=
7,200.00 บาท
2) จำนวน 2 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 6 คน
=
4,200.00 บาท
3) จำนวน 2 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 7 คน
=
2,800.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 3,600.00 บาท )
1) ค่าตอบแทนนักศึกษาจำนวน 6 คน x จำนวน 4 ชม. x จำนวน 150.00 บาท/ชม.
=
3,600.00 บาท

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 66,700.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 10,000.00 บาท )
1) จำนวน 8 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 50 คน
=
10,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 16,000.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 80.00 บาท x จำนวน 50 คน
=
16,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 7,200.00 บาท )
- จำนวน 1 คัน x จำนวน 4 วัน x ราคา 1,800 บาท/คัน/วัน
=
7,200.00 บาท

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 33,500.00 บาท )
1) ค่าเหมาจ่ายทำใบประกาศ (40 ใบ X 50 บาท)
=
2,000.00 บาท
2) ค่าบำรุงรักษาสถานที่
=
4,000.00 บาท
3) ค่าจ้างเหมาสรุปรูปเล่มโครงการ
=
3,000.00 บาท
4) ค่าจ้างเหมาทำตัวอย่างโลโก้แบรด์สินค้า
=
15,000.00 บาท
5) ค่าเช่าโฮสและจดโดเมนเนม
=
5,000.00 บาท
6) ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ (3 ป้าย ป้ายละ 1,500)
=
4,500.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 12,500.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 12,500.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
5,000 แผ่น x 0.50 บาท
=
2,500.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
5,000.00 บาท
=
5,000.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
0 คน x 0.00 บาท
=
0.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
5,000.00 บาท
=
5,000.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 3,300.00 บาท )
1) ค่าแสตมป์
จำนวน 100 ดวง x ดวงละ 3 บาท
=
300.00 บาท
2) ค่าสาธารณูปโภค
จำนวน 3000 บาท
=
3,000.00 บาท

งบประมาณทั้งสิ้น 161,500.00 บาท