แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2556
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ หมออาสาเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุในชุมชน ตำบลเมืองศรีไค (ต่อเนื่อง)
ลักษณะโครงการ การบริการทางการแพทย์
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาวะและบริการสุขภาพ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชน
ยังไม่ได้เพิ่มนโยบาย
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
รศ.นายแพทย์ป่วน สุทธิพินิจธรรม คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : โรคผิวหนังและภูมิแพ้ผิวหนัง
ประสบการณ์ : "1.อดีตเป็นอาจารย์สอนที่ศิริราช ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง คณบดี วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข 2.ดูแลผู้ป่วยด้านโรคผิวหนังที่โรงพยาบาลพญาไท 2 นานกว่า 24 ปี"
ความเชี่ยวชาญ : เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคผิวหนังและภูมิแพ้ผิวหนัง
หัวหน้าโครงการ

หลักการและเหตุผล
เนื่องจากการพัฒนาด้านการแพทย์และการสาธารณสุข ส่งผลให้อัตราการตายของประชากรลดลง ผู้สูงอายุมีชีวิตยืนยาวขึ้น แต่ผู้สูงอายุมักประสบปัญหาด้านสุขภาพ เนื่องจากความเสื่อมถอยของร่างกายตามวัยทำให้เกิดโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น โรคตามัว โรคหูเสื่อม ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นต้น ในบางรายที่ประสบอุบัติเหตุจนไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ จะทำให้เกิดภาวะที่ต้องพึ่งพาหรือเกิดภาวะทุพพลภาพเป็นภาระแก่ผู้ดูแล ทำให้การดำรงชีวิตของผู้สูงอายุอยู่อย่างไม่มีความสุข อาจส่งผลทำให้เกิดสุขภาพทางจิตได้ วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ได้เล็งเห็นความสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ ป่วยเป็นโรคเรื้อรัง ขาดผู้ดูแล และได้จัดโครงการ หมออาสาเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุในชุมชน ตำบลเมืองศรีไค (ระยะที่ 1) ปี พ.ศ. 2555 โดยมีกิจกรรมการดูแลและติดตามเยี่ยมบ้าน ให้ความรู้ในการพัฒนาพฤติกรรมด้านสุขภาพของตนเองแบบองค์รวม เพื่อให้เกิดการต่อเนื่องแบบยั่งยืน จึงเห็นสมควรให้ ดำเนินโครงการต่อเนื่องในระยะที่ 2 ปี พ.ศ.2556 โดยเน้นการเพิ่มศักยภาพของเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ ในกลุ่มโครงการที่ 1 และขยายการดำเนินงานเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุในพื้นที่ใหม่เพิ่มขึ้น

วัตถุประสงค์
1.เพื่อเสริมสร้าง ความเข้มแข็งในการขยายเครือข่ายการทำงานร่วมกับชุมชน และนักศึกษาวิทยาลัยแพทย์ฯได้ศึกษาเรียนรู้ในสถานการณ์จริง
2.เพื่อเพิ่มศักยภาพเจ้าหน้าและอาสาสมัครในการรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
3.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพของผู้สูงอายุในเขตตำบลเมืองศรีไค ให้มีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมายหลักคือ ผู้สูงอายุที่มีอายุ ตั้งแต่60 ปีขึ้นไป ผู้สูงอายุที่ไม่สามารถช่วยตนเองได้หรือผู้ด้อยโอกาสทางสังคม ถูกทอดทิ้ง ขาดผู้ดูแล และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 100 รายในเขต ต.เมืองศรีไค อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
100 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1.1 ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเมืองศรีไค ศูนย์สุขภาพเขต 7 องค์การบริหารส่วนตำบล และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 1.2 เตรียมอุปกรณ์และเครื่องมือสำหรับตรวจสุขภาพชุมชน และรวบรวมข้อมูลสุขภาพกลุ่มเป้าหมาย 1.2.1 หูฟัง (Steththoscope) 1.2.2 เครื่องวัดความดันและที่พันต่างๆ (Sphygmomanometer and various cuff sizes) 1.2.3 เครื่องตรวจหูและตา (Otoscope and ophthalmoscope) 1.2.4 แฟ้มประวัติครอบครัว 1.2.5 ไม้กดลิ้น 1.2.6 ถุงมือใช้แล้วทิ้ง 1.2.7 ไฟฉาย 1.2.8 ปรอทวัดไข้ 1.2.9 ยาและเวชภัณฑ์เบื้องต้น 1.3 จัดอบรมและประชุมนักศึกษาแพทย์และสาธารณสุข ที่เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนออกตรวจสุขภาพชุมชน

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2555
2556
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.วางแผนประสานงานประชาสัมพันธ์และเตรียมการ (คัดเลือกพื้นที่ใหม่) -- --- --- 40,000.00
2.ดำเนินกิจกรรม --- 30,000.00
3.สรุปผลและประเมิน --- --- 100,000.00
4. --- --- --- 30,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 30 กันยายน พ.ศ. 2556 รวมเวลา 1 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : -เกิดเครือข่ายภาคีและการทำงานร่วมกันระหว่างชุมชนและวิทยาลัยแพทยศาสตร์ฯ -เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครมีทักษะในการรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น -เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพตนเองแบบองค์รวมได้
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
100
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา เวชศาสตร์ชุมชนและครอบครัว
หลักสูตร แพทยศาสตร์บัณฑิตและวิทยาศาสตร์บัณฑิต
นักศึกษาชั้นปี : 3-4
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด นักศึกษาได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงในการออกพื้นที่ ร้อยละ 75
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ นักศึกษาได้รับความรู้เพิ่มขึ้น หลังเสร็จสิ้นโครงการ ร้อยละ 75

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 0.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 114,600.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 36,000.00 บาท )
- จำนวน 1 คัน x จำนวน 20 วัน x ราคา 1,800 บาท/คัน/วัน
=
36,000.00 บาท

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 78,600.00 บาท )
1) ค่าอาหารกลางวัน 60บาท/20คน/30วัน
=
36,000.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมาแรงงานนักศึกษาออกพื้นที่ 200บาท/5คน/30วัน
=
30,000.00 บาท
3) ค่าจ้างเหมาแรงงานเก็บข้อมูล210บาท/2คน/30วัน
=
12,600.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 46,000.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 21,000.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
14,000 แผ่น x 0.50 บาท
=
7,000.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
5,000.00 บาท
=
5,000.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
0 คน x 5,000.00 บาท
=
0.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
9,000.00 บาท
=
9,000.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 25,000.00 บาท )
1) ค่ายาเวชภัณฑ์เบื้องต้น
=
25,000.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 160,600.00 บาท