แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2558
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ ชื่อโครงการ การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ เรื่อง เศรษฐกิจและสังคมในภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงของ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประจำปีงบประมาณ 2558 (International Conference 2014 “The Social and Economic Prospects in Southern Mekong Sub-Region of Southeast Asia) ครั้งที่ 2
ลักษณะโครงการ การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับชุมชน หน่วยงานของรัฐ ตลอดจนภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม เพื่อการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้แก่ชุมชน ร่วมกับหน่วยงานราชการ ภาครัฐ ภาคธุรกิจ เอกชน
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นางสาวพิมลพรรณ อุดมพันธ์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : เทคโนโลยีสารสนเทศ
ประสบการณ์ : สอน 10 ปี
ความเชี่ยวชาญ : e-commerce
หัวหน้าโครงการ

หลักการและเหตุผล
ในปี 2558 ประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) พร้อมกับประเทศสมาชิก ได้แก่ ลาว กัมพูชา พม่า เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนิเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ และบรูไน ซึ่งคาดว่าจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ ไม่ว่าจะเป็น การเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม และวัฒนธรรม เนื่องจากประเทศสมาชิกสามารถเคลื่อนย้ายแรงงาน การลงทุน ได้อย่างอิสระ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ถือเป็นปัจจัยสำคัญด้านหนึ่ง ที่ประเทศไทย ควรให้ความสำคัญในการเตรียมรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่จะมาถึง ไม่ว่าจะเป็น การเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี การย้ายฐานการลงทุนไปสู่ประเทศที่มีความพร้อมด้านทรัพยากร และอาจนำมาซึ่งปัญหาต่างๆ ด้วย เช่น ปัญหาด้านแรงงาน, ปัญหาเศรษฐกิจและสังคม และปัญหาด้านวัฒนธรรม กลุ่มประเทศในภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงตอนใต้ อันได้แก่ พม่า ไทย ลาว และกัมพูชา เป็นพื้นที่ๆ หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (AEC) ทำอย่างไร เราจึงจะมีการเตรียมความพร้อมในการรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว นักวิจัย นักวิชาการ ในเขตภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงตอนใต้ ได้มีการศึกษา ค้นคว้า วิจัย เพื่อสร้างองค์ความรู้ในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ที่สามารถจะนำมาเป็นข้อมูลประกอบในการเตรียมความพร้อมสู่การเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ Mekong Sub Region of Southern Asia Economic จะเป็นเวทีที่จะเปิดโอกาสในนักวิจัย นักวิชาการ ตลอดจนนักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ที่ศึกษา ค้นคว้า วิจัย ในด้านเศรษฐกิจและสังคมของภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงตอนใต้ ได้เผยแพร่องค์ความรู้ ผลงานวิจัยของตนเอง รวมทั้งได้มีโอกาสในการแลกเปลี่ยน ความรู้ ทัศนะต่างๆ ได้มากยิ่งขึ้น อันจะนำมาซึ่งความร่วมมือในการพัฒนาองค์ความรู้ต่างๆ ในด้านเศรษฐกิจและสังคม ทั้งนี้ เพื่อเป็นการรองรับและเตรียมความพร้อมสู่การเป็น AEC อย่างรู้เท่าทันและมีความพร้อมมากที่สุด

วัตถุประสงค์
1.เพื่อบรรยายทางวิชาการ สร้างความรู้ ความเข้าใจ และบทบาทของเศรษฐกิจและสังคม ในภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงตอนใต้และระดับอาเซียน
2.2. เพื่อนำเสนอผลงานวิจัยในสาขา Economic, Social, Tourism & Hospitality, Logistic, IT, Accounting
3.3. เพื่อสร้างโอกาสในการพบปะระหว่างนักวิจัยและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นประสบการณ์ระหว่างนักวิจัยอันจะก่อให้เกิดความร่วมมือและสนับสนุนการทำวิจัย เพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและสังคม ในภูมิภาคลุ่มน้ำโขงตอนใต้

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
นักวิจัย นักวิชาการ นักศึกษา ประชาชนผู้สนใจ
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
100 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
การจัดประชุมวิชาการระดับนานาชาติ

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2557
2558
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.เตรียมการเพื่อจัดประชุมวิชาการ รายละเอียดดำเนินการได้แก่ - key note speaker และ chair person - รูปแบบงาน ตารางกิจกรรม/ paper - เอกสารประชาสัมพันธ --- --- --- 60,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 10 ธันวาคม พ.ศ. 2556 รวมเวลา 1 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
9 กรกฎาคม พ.ศ. 2558
09.00-12.00 น. กิจกรรมประชุมวิชาการ พิมลพรรณ อุดพันธ์

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : นักวิจัย นักวิชาการ ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์งานวิจัยในสาขาวิชาต่างๆ ทั้งภายในและต่างประเทศ
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
100
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
คุ้มค่า

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา วิชา สถิติธุรกิจ
หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต
นักศึกษาชั้นปี : 2
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ ให้นักศึกษาเข้ารับฟ้งการนำเสนอผลงานวิจัย เพื่อให้ได้เห็นตัวอย่างจริง ในการใช้สถิติเพื่อการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล และการสรุปผลการวิจัย จากการประชุมวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 69,400.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 61,200.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 61,200.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 5 ชม. x ชม.ละ 1,200.00 บาท x จำนวน 9 คน
=
54,000.00 บาท
2) จำนวน 1 วัน x จำนวน 2 ชม. x ชม.ละ 1,200.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
7,200.00 บาท
-วิทยากรภายใน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 8,200.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 4,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 10 คน
=
4,000.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 4,200.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 10 คน
=
4,200.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 190,000.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 70,000.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 40,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 ครั้ง x จำนวน 10 คน x ครั้งละ 2,000.00 บาท
=
40,000.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 30,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 คืน x จำนวน 10 ห้อง x ห้องละ 1,500.00 บาท
=
30,000.00 บาท
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 24,000.00 บาท )
1) จำนวน 3 มื้อ x มื้อละ 80.00 บาท x จำนวน 100 คน
=
24,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 75,000.00 บาท )
1) จำนวน 3 มื้อ x มื้อละ 250.00 บาท x จำนวน 100 คน
=
75,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 21,000.00 บาท )
1) ค่าโฆษณาและประชาสัมพันธ์ ค่าจ้างเหมารถบัสพร้อมน้ำมัน ค่าจ้างเหมาจัดทำเว็บไซต์และดูแลระบบ
=
21,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 40,600.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 14,600.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
5,200 แผ่น x 0.50 บาท
=
2,600.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
4,000.00 บาท
=
4,000.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
0 คน x 0.00 บาท
=
0.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
8,000.00 บาท
=
8,000.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 26,000.00 บาท )
1) ค่าเอกสารประกอบการประชุม
=
26,000.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 300,000.00 บาท