แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2558
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ การอบรมเชิงปฏิบัติการ กรรมวิธีการหล่อโลหะ โดยใช้วิธีแม่พิมพ์แบบหล่อชั่วคราว
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับชุมชน หน่วยงานของรัฐ ตลอดจนภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม เพื่อการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้แก่ชุมชน ร่วมกับหน่วยงานราชการ ภาครัฐ ภาคธุรกิจ เอกชน
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
ดร.จรวยพร แสนทวีสุข คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : Materials Engineering
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : Rapid Solidification Processing Welding Technology Industrial Materials Testing Failure Analysis
หัวหน้าโครงการ

หลักการและเหตุผล
งานหล่อโลหะ เป็นศาสตร์อีกแขนงหนึ่งที่มีบทบาทต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมชิ้นส่วน โดยเฉพาะชิ้นส่วนยานยนต์ ซึ่งมีการลงทุนในประเทศเป็นที่มีมูลค่าจำนวนมากโดยผู้ผลิตมีเป้าหมายที่จะเป็นศูนย์กลางการผลิตที่ใหญ่ที่สุดในโลก สิ่งหนึ่งที่รัฐบาลจะต้องเตรียมการเพื่อรองรับแผนดังกล่าว คือ การเตรียมกำลังคนด้านแรงงานที่มีศักยภาพในการผลิตที่อาศัยเทคนิคและวิทยาการสมัยใหม่ เพื่อให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดชิ้นส่วนยานยนต์ นับวันที่จะมีการพัฒนาให้ล้ำหน้าอยู่เสมอ ชิ้นส่วนยานยนต์ ส่วนมากยังผลิตด้วยโลหะเป็นหลัก กรรมวิธีการผลิตที่นิยมใช้กัน คือ การหลอมหล่อด้วยเตาเหนี่ยวนำไฟฟ้า กระบวนการหล่อประกอบด้วยการทำแบบหล่อ การเตรียมการหลอมละลายของโลหะ และการเทโลหะหลอมละลายลงในแบบหล่อ ซึ่งการทำแบบหล่อนั้น แม่พิมพ์แบบหล่อสามารถแบ่งเป็น กระบวนการทำแม่พิมพ์แบบหล่อชั่วคราว และกระบวนการทำแม่พิมพ์แบบหล่อถาวร โดยกระบวนการทำแม่พิมพ์แบบหล่อชั่วคราวสามารถขึ้นรูปชิ้นงานที่มีรูปร่างซับซ้อนได้ดี และเหมาะกับอุตสาหกรรมการผลิตขนาดเล็กและอุตสาหกรรมในครัวเรือน ดังนั้นเพื่อเป็นการช่วยรัฐอีกทางหนึ่งในการพัฒนาบุคลากรภายในประเทศ ที่จะออกไปสู่ตลาดแรงงานด้วยบทบาทและหน้าที่ของมหาวิทยาลัย โดยคณะวิศวกรรมศาสตร์ ที่มีการจัดการเรียนการสอนในสาขาวิชานี้ในหลักสูตรปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ นอกจากการใช้เวลาและห้องปฏิบัติการเพื่อการจัดการเรียนการสอน ควรนำมาใช้เพื่อการฝึกอบรมให้แก่ประชาชนผู้สนใจทั่วไป ทั้งที่เป็นผู้ว่างงาน และผู้ที่ต้องการเพิ่มพูนทักษะทางช่างหล่อ ให้สามารถผลิตงานหล่อได้อย่างมีคุณภาพตรงตามหลักทางวิชาการ สอดคล้องกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม จึงเห็นควรได้รับการสนับสนุนงบประมาณเพื่อดำเนินการฝึกอบรมตามหลักสูตรที่กำหนดไว้นี้ในระยะเวลา ประมาณ 24 ชั่วโมง

วัตถุประสงค์
1.เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการเตรียมแม่พิมพ์แบบชั่วคราว (Expendable mold processes) และถ่ายทอดเทคโนโลยีการหล่อโลหะนอกกลุ่มเหล็ก โดยใช้เตาหลอมแบบเหนี่ยวนำ แก่ผู้ประกอบการและผู้ที่สนใจทั่วไป โดยมีเป้าหมายในการเพิ่มขีดความสามรถในการแข่งขันของประเทศ สอดคล้องกับ นโยบาย และวิสัยทัศน์ของรัฐบาล

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
1.ครูและอาจารย์จากในสังกัดวิทยาลัยเทคนิค วิทยาลัยการอาชีพ และเทคโนโลยีราชมงคล และมหาวิทยาลัย 2.ผู้สนใจและบุคคลทั่วไปจากสถานประกอบการ
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
30 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
วิธีการในการดำเนินโครงการฯ: เป็นการอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ มีการบรรยายในภาคทฤษฎี และการทดลองในห้องปฏิบัติ เครื่องที่ใช้ คือ อุปกรณ์โสต สื่อพื้นฐานทั่วไป

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2557
2558
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.เตรียมการขั้นต้น;แต่งตั้งกรรมการผู้รับผิดชอบฝ่ายต่างๆติดต่อวิทยากร,จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ และสถานที่,จัดเตรียมเอกสาร - --- 80,000.00
2.ดำเนินการ --- --- -- --- 50,000.00
3.รายงานผลการดำเนินงาน --- --- --- 0.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2558 - 18 มิถุนายน พ.ศ. 2558 รวมเวลา 4 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
15 มิถุนายน พ.ศ. 2558
8.30-16.30 ประวัติความเป็นมา,ความสำคัญ,กรรมวิธีการหล่อเบื้องต้น,ความปลอดภัย,การแข็งตัวของโลหะ,การออกแบบงานหล่อ ดร.จรวยพร และ ผศ.สุริยา
16 มิถุนายน พ.ศ. 2558
8.30-16.30 การทำแบบหล่อทรายชื้น และ การทดสอบทรายหล่อ การทำแบบหล่อ Shell mold ดร.จรวยพร และคณะ
17 มิถุนายน พ.ศ. 2558
8.30-16.30 การทำแบบหล่อ Investment Casting การเตรียมเตาและการหลอมหล่อ ผศ.สุริยา และคณะ
18 มิถุนายน พ.ศ. 2558
8.30-16.30 การวิเคราะห์งานหล่อ รายงานสรุปและวิจารณ์ผลการทดลอง ดร.จรวยพร และ ผศ.สุริยา

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : กลุ่มเป้าหมายที่เป็นบุคคลากรของรัฐจากสถาบันการศึกษา ได้รับความรู้และประสบการณ์สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน ส่งผลให้นักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาออกไปสู่ตลาดแรงงานมีคุณภาพตรงตามความต้องการของผู้ประกอบการยิ่งขึ้น
ด้านสังคม : กลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้ประกอบการ และผู้ว่างงาน มีความรู้ความสามารถในงานหล่อโลหะเป็นอย่างดี อันจะเป็นบุคลากรที่มีความสำคัญต่อการผลิตงานหล่อให้แก่ลูกค้าได้อย่างมีคุณภาพที่สูงขึ้น
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
30
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
4433

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา วิศวกรรมการหล่อโลหะ
หลักสูตร วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต
นักศึกษาชั้นปี : ชั้นปีที่ 3-4
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด การนำนักศึกษาเข้ามาช่วยในการดำเนินโครงการฯ ประมาณ 5-10 คน
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 56,430.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 28,800.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 28,800.00 บาท )
1) จำนวน 4 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
28,800.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 27,630.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 11,250.00 บาท )
1) จำนวน 15 วัน x จำนวน 5 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
11,250.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 16,380.00 บาท )
1) จำนวน 13 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
16,380.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 29,370.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 6,000.00 บาท )
1) จำนวน 8 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 30 คน
=
6,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 9,600.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 80.00 บาท x จำนวน 30 คน
=
9,600.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 13,770.00 บาท )
1) ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
=
1,770.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารแผ่นพับและสิ่งพิมพ์
=
5,000.00 บาท
3) ค่าจ้างเหมาจัดเอกสารประกอบการสัมมนา
=
3,000.00 บาท
4) ค่าเดินทางราชการของวิทยากร
=
4,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 37,200.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 37,200.00 บาท )
1) ค่าวัสดุฝึก
=
37,200.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 10,000.00 บาท )
1) ค่าแสตมป์
จำนวน 0 ดวง x ดวงละ 3 บาท
=
0.00 บาท
2) ค่าสาธารณูปโภค
จำนวน 10000 บาท
=
10,000.00 บาท

งบประมาณทั้งสิ้น 133,000.00 บาท