แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2556
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ การบำรุงรักษาและปรับปรุงระบบ Solar cell ที่ศูนย์การเรียนรู้บ้านดงนา จากโครงการพระราชดำริพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีที่เหมาะสมบนฐานวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ดีงาม เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและการพึ่งพาตนเองของชุมชนท้องถิ่น
นโยบาย : โครงการพัฒนาชุมชนด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายอุทัย สุขสิงห์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : RS & GIS
ประสบการณ์ : อาจารย์สอนในมหาวิทยาลัย 30 ปี
ความเชี่ยวชาญ : GIS Electronic Programcomputer Microcontrol
หัวหน้าโครงการ

หลักการและเหตุผล
ศูนย์การเรียนรู้บ้านดงนา ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านดงนา ตำบลหนามแท่ง อำเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี เป็นหมู่บ้านชายแดน ลักษณะสภาพการคมนาคมมีความยากลำบาก เป็นหมู่บ้านที่ติดกับแม่น้ำโขง ใช้เส้นทางหมายเลข 217 และหมายเลข 2135 ระยะทาง 104 กิโลเมตรใช้ระยะเวลาในการเดินทาง 2 ชั่วโมง 30 นาที ซึ่งอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติผาแต้ม จึงทำให้ไฟฟ้าจากการไฟฟ้าเข้าไม่ถึงศูนย์การเรียนรู้บ้านดงนา โดยปกติจะใช้ไฟฟ้าจาก ระบบโซล่าเซลล์ของโครงการพระราชดำริ (ปี2545) ซึ่งใช้มาเป็นระยะเวลา 10 ปี ในการผลิตไฟฟ้า ศูนย์การเรียนรู้บ้านดงนาต้องใช้อุปกรณ์และเครื่องใช้ไฟฟ้า จึงทำให้ระบบไฟฟ้าไม่เพียงพอกับเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ เพราะระบบอินเวอร์เตอร์และตัวชาร์จประจุโซล่าเซลล์ที่ศูนย์การเรียนรู้บ้านดงนา เกิดปัญหา ระบบอยู่ในสภาพที่ชำรุดเสียหายและไม่สามารถใช้งานได้บางส่วน ปัญหาที่สำคัญของศูนย์การเรียนรู้บ้านดงนาขาดระบบการผลิตไฟฟ้าและการบำรุงรักษาอุปกรณ์ในระบบโซล่าเซลล์ จึงทำให้ไม่สามารถใช้งานได้เต็มประสิทธิภาพ ฉะนั้นโครงการที่จะศึกษาปรับปรุงพัฒนาและให้ความรู้ แก่ผู้ที่มีส่วนรับผิดชอบศูนย์การเรียนรู้บ้านดงนาจะช่วยให้ระบบโซล่าเซลล์มีศักยภาพในการใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงเป็นสิ่งจำเป็นและเร่งด่วน

วัตถุประสงค์
1.อบรมเชิงปฏิบัติการบำรุงรักษาและปรับปรุงระบบโซล่าที่มีอยู่ในศูนย์การเรียนรู้บ้านดงนาให้สามารถทำงานได้ -จัดหาอุปกรณ์อะไหล่ในตรวจซ่อมและพัฒนาระบบโซล่าที่เหมาะสม

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มชาวบ้าน ในศูนย์การเรียนรู้บ้านดงนา ตำบลหนามแท่ง อำเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
50 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. ออกสำรวจข้อมูล 2. จัดซื้ออุปกรณ์ 3. ดำเนินการอบรม

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2555
2556
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.08.30 น – 9.00 น ลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม 09.00 น – 12.00 น ระบบโซล่า ระบบอินเวอร์เตอร์ การประยุกต์ใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้า การบำรุงรักษา การตรวจซ่อม --- --- --- 92,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2557 - 30 มกราคม พ.ศ. 2557 รวมเวลา 1 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : ศูนย์การเรียนรู้บ้านดงนา ได้ใช้ไฟฟ้าระบบ Solar cell ให้แสงสว่างและเครื่องใช้ไฟฟ้าที่จำเป็นพื้นฐานได้มากขึ้น
ด้านสังคม : ผู้เข้ารับการอบรมรู้วิธีการบำรุงรักษาระบบโซล่าทำให้ระบบทำงานได้ยั่งยืน
ด้านสิ่งแวดล้อม : ช่วยลดโลกร้อนและเสียค่าใช้จ่ายด้านพลังงานไฟฟ้าน้อยลง
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
50
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
90
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
ศูนย์การเรียนรู้บ้านดงนา มีพลังงานที่ผลิตจาก Solar cell ใช้งานเพียงพอ และผู้เข้ารับการอบรม เรียนรู้ระบบได้มากขึ้นแฃะสามารถแก้ปัญหาได้

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา วิชาวงจรอิเล็กทรอนิกส์ วงจรดิจิตอลและไมโครคอนโทรลเลอร์
หลักสูตร วิศวกรรมไฟฟ้า ปริญญาตรี
นักศึกษาชั้นปี : 3-4
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด นักศึกษาเข้าร่วมโครงร้อยละ 80 มีความรู้เพิ่มขึ้น สามารถใช้ความรู้ที่เรียนมาประยุกต์ใช้งานจริงได้
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 7,200.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 7,200.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 7,200.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
7,200.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 13,500.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 2,500.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 50 คน
=
2,500.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 4,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 80.00 บาท x จำนวน 50 คน
=
4,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 7,000.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมัน
=
7,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 71,300.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 71,300.00 บาท )
1) ค่าชุดอุปกรณ์อะไหล่ปรับปรุงระบบโซลาเซลล์ เช่น ชุดอะไหล่ระบบอินเวอร์เตอร์ ชุดอุปกรณ์ตัวเชื่อมต่อ
=
71,300.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 92,000.00 บาท