แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2558
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพการดูแลตนเองของผู้ป่วยจิตเวชโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาวะและบริการสุขภาพ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชน
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะที่ดีแก่ชุมชน ให้ความสำคัญในการสร้างเสริมความเข้มแข็งด้านสุขภาพอนามัย
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นางสาวเกษร สายธนู คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุดใจ ซึมรัมย์ คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : บริหารธุรกิจ
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
โรคจิตเวชเป็นโรคที่มีความผิดปกติทางอารมณ์ ความคิด และการแสดงออกทางพฤติกรรมที่รุนแรง และถือว่าการเจ็บป่วยเรื้อรังโรคหนึ่ง ซึ่งเมื่อมีผู้ป่วยจิตเวชในครอบครัวและชุมชนใดแล้ว นั่นหมายถึงความจำเป็นในการจัดการดูแลที่ต่อเนื่อง เพื่อให้ทุเลาจากอาการและบรรเทาความรุนแรงที่อาจจะเกิดขึ้นได้ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือผู้นาชุมชน อสม. และญาติจำเป็นให้การดูแลอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลจึงจำเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการให้ความดูแลและช่วยเหลืออย่างถูกต้องเหมาะสม ทั้งผู้ป่วย ญาติหรือคนในครอบครัวและทีมสุขภาพ ในการแก้ปัญหาผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนรูปแบบเดิมนั้น มักจะเป็นหน้าที่โดยตรงของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ในปัจจุบันการดูแลผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตหรือจิตเวชรูปแบบดังกล่าว อาจไม่เพียงพอเและทันต่อเหตุการณ์ข้อจำกัดด้านจำนวนบุคลากรที่ดูแล ดังนั้นการพัฒนาศักยภาพการดูแลตนเองของผู้ป่วยจิตเวชให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของตนเอง รวมถึงการปฏิบัติตัวต่างๆ เช่น การรับประทานยา การสังเกตอาการผิดปกติ การติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง การจัดการปัจจัยกระตุ้นที่ส่งผลต่อการกำเริบซ้ำ เป็นต้น เหล่านี้เป็นการป้องกันการกำเริบซ้ำของโรคได้อย่างดีที่สุด ในขณะเดียวกันการสร้างองค์ความรู้และทักษะให้กับคนในครอบครัว หรือ อสม. ซึ่งเป็นผู้ที่ทำหน้าที่ดูแลผู้ป่วยจิตเวชนั้น ก็เป็นสิ่งที่สำคัญยิ่งเช่นเดียวกัน

วัตถุประสงค์
1.1. เพื่อพัฒนาศักยภาพการดูแลตนเองของผู้ป่วยจิตเวช 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช 3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชนในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
1. ผู้ป่วยจิตเวชในเทศบาลตำบลธาตุ จำนวน 27 คน 2. ตัวแทนผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวช จำนวน 27 คน 3. แกนนำ อสม. และทีมสุขภาพ รพ.สต.บัววัด จำนวน 30 คน 4. ผู้นำชุมชน (กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน อพปร. บุคลากรของเทศบาลตำบลธาตุ) จำนวน 20 คน 5. นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 จำนวน 35 คน 6. อาจารย์และบุคลากร คณะพยาบาลศาสตร์ จำนวน 3 คน
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
142 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนเทศบาลตำบลธาตุ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมการดำเนินการ) (ปี 2557-2558)

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2557
2558
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนเทศบาลตำบลธาตุ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมการดำเนินการ) (ปี 2557-2558) - - --- 0.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 24 ธันวาคม พ.ศ. 2556 รวมเวลา 273 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
16 มีนาคม พ.ศ. 2558
08.00-16.30น. กิจกรรมอบรมการพัฒนาศักยภาพการดูแลตนเองผู้ป่วยจิตเวช อาจารย์เกษร สายธนู

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : 1. มีฐานข้อมูลผู้ป่วยจิตเวชในชุมนตำบลธาตุ 2. ผู้ป่วยจิตเวช ได้รับการพัฒนาศักยภาพการดูแลตนเอง 3. ผู้ดูแล และแกนนำ อสม.ได้รับการพัฒนาศักยภาพการดูแลผู้ป่วยจิตเวช 4. ได้แนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนตำบลธาตุโดยการการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน 5.ได้คู่มือการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่บ้านสำหรับผู้ดูแล 6. ชุมชนมีเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยจิตเวช
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
142
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
35
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
35
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ 80 ขึ้นไป

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา วิชา 1801 327 ปฏิบัติ สุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช
หลักสูตร พยาบาลศาสตรบัณฑิต
นักศึกษาชั้นปี : นักศึกษาชั้นปีที่ 4
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจของนักศึกษาในการบูรณาการกับการเรียนการสอน 3.51 ขึ้นไป
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด -
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ -

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 7,200.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 7,200.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 7,200.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 2 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
2,400.00 บาท
2) จำนวน 1 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
4,800.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 38,000.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 19,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 190 คน
=
19,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 19,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 190 คน
=
19,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 15,200.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 10,200.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
6,000 แผ่น x 0.50 บาท
=
3,000.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
6,000.00 บาท
=
6,000.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
1,200.00 บาท
=
1,200.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
0 คน x 0.00 บาท
=
0.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 5,000.00 บาท )
1) จัดทำคู่มือการดูแลผู้ป่วยจิตเวช
=
5,000.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 60,400.00 บาท