แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2557
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการวางแผนเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : พัฒนาระบบและกลไกการบริหารงานบริการวิชาการให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดการบูรณาการกับการวิจัยและการเรียนการสอน
นโยบาย : พัฒนาระบบบริหารงานบริการวิชาการแก่สังคม
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นางสาววิภาพรรณ ตระกูลสันติรัตน์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : การจัดการภาตรัฐและภาคเอกชน
ประสบการณ์ : "สอน 2550 - 2557 วิจัย PSM"
ความเชี่ยวชาญ : การจัดการภาครัฐและภาคเอกชน HRM HRD CSR
หัวหน้าโครงการ

หลักการและเหตุผล
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นถือเป็นหน่วยงานที่ใกล้ชิดกับประชาชนในท้องถิ่นมากที่สุด ตั้งอยู่ภายใต้หลักการกระจายอำนาจทางการปกครองเพื่อให้คนในท้องถิ่นซึ่งเป็นผู้รู้ปัญหาที่ดีที่สุด ได้สิทธิในการแก้ไขปัญหาของตนเองในรูปแบบขององค์กร โดยการสนับสนุนของรัฐ แต่ปัญหาหนึ่งที่หน่วยงานท้องถิ่นต้องเผชิญก็คือเรื่องของการวางแผน ซึ่งเป็นเรื่องของความเชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านการบริหารงานภาครัฐ ถ้าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่สามารถวางแผนที่ดีในการพัฒนาท้องถิ่นของตนได้ ก็ย่อมจะทำให้รากฐานของการพัฒนาท้องถิ่นอ่อนแอตามไปด้วย จากประสบการณ์ในการดำเนินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อการวางแผนเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ครั้งที่ 2 ในปี 2555 ทางคณะได้พบว่าผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังคงมีความต้องการองค์ความรู้จากภาควิชาการเพื่อนำไปประกอบการปฏิบัติงานจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพอันจะนำสู่ประสิทธิผลในการทำงานยิ่งขึ้น ด้วยเหตุนี้ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จึงเห็นควรเสนอโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นเพื่อให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติ ระดับจังหวัดและตอบสนองความต้องการของประชาชน โดยยึดหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการพัฒนาการวางแผนท้องถิ่นให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศได้อย่างยั่งยืน

วัตถุประสงค์
1.1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการวางแผนเพื่อพัฒนาท้องถิ่นที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ จังหวัด และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น ให้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ 2. เพื่อส่งเสริมจิตสำนึกในการพัฒนาท้องถิ่นโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผ่านการวางแผนการพัฒนาท้องถิ่น ให้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
คุณสมบัติของผู้ร่วมโครงการ ตัวแทนจากวัด สถาบันการศึกษา ชาวบ้าน ผู้นำชุมชนคุ้มวัดศรีประดู่ อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี หน่วยงานราชการ และสื่อมวลชนท้องถิ่น
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
40 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
-ไม่มีข้อมูล

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2556
2557
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.1.กำหนดรูปแบบการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ --- --- --- -- 0.00
2.2.เตรียมความพร้อมการฝึกอบรม --- --- --- -- 12,480.00
3.3.ประชาสัมพันธ์งาน --- --- --- -- 2,000.00
4.4.ดำเนินกิจกรรมตามรูปแบบที่กำหนดไว้ --- --- --- -- 36,120.00
5.5.ประเมินผลการดำเนินงาน --- --- --- -- 4,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2557 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2557 รวมเวลา 1 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
9 สิงหาคม พ.ศ. 2557
08.45 – 09.00 น. ลงทะเบียน
9 สิงหาคม พ.ศ. 2557
09.00 – 09.15 น. พิธีเปิดการอบรม รักษาราชการแทนคณบดีคณะรัฐศาสตร์
9 สิงหาคม พ.ศ. 2557
09.15 – 11.30 น. บรรยาย แนวทางการวางแผนเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นให้ตรงกับยุทธศาสตร์ชาติ จังหวัด และคนในท้องถิ่น
9 สิงหาคม พ.ศ. 2557
11.30 – 12.45 น. รับประทานอาหารกลางวัน
9 สิงหาคม พ.ศ. 2557
12.45 – 14.45 น. แบ่งกลุ่ม 4 กลุ่ม กลุ่มละ 10 คน เพื่อฝึกปฏิบัติการวางแผนเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ดร.ศรัณย์ สุดใจ ดร. อรุณี สัณฐิติวณิช ดร. ณรุจน์ วศินปิยมงคล อาจารย์วิภาพรรณ ตระกูลสันติรัตน์ อาจารย
9 สิงหาคม พ.ศ. 2557
14.45 – 16.30 น. ผู้เข้าร่วมอบรมนำเสนองานและการให้ข้อเสนอแนะจากวิทยากร ดร.ศรัณย์ สุดใจ ดร. อรุณี สัณฐิติวณิช ดร. ณรุจน์ วศินปิยมงคล อาจารย์วิภาพรรณ ตระกูลสันติรัตน์ อาจารย

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ :
ด้านสังคม : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เกี่ยวกับการวางแผนเพื่อพัฒนาท้องถิ่นที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ จังหวัด และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น 2. ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดจิตสำนึกในการพัฒนาท้องถิ่นโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผ่านการวางแผนการพัฒนาท้องถิ่น
ด้านสิ่งแวดล้อม :
ด้านอื่นๆ :

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
32
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
75
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
0
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
ลดการเสียเวลาในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา วิชาเทคนิคการบริหาร
หลักสูตร หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
นักศึกษาชั้นปี : 4
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน คะแนนประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาดังกล่าว เฉลี่ย มากกว่า 3.75 คะแนนขึ้นไป
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 18,720.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 16,200.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 1,800.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
1,800.00 บาท
-วิทยากรภายใน ( รวม 14,400.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 8 คน
=
14,400.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 2,520.00 บาท )
1) OT เจ้าหน้าที่ จำนวน 6 คน x จำนวน 1 ชม. x จำนวน 420.00 บาท/ชม.
=
2,520.00 บาท

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 22,180.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 200.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 200.00 บาท )
1) จำนวน 1 ครั้ง x จำนวน 1 คน x ครั้งละ 200.00 บาท
=
200.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 2,800.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 35.00 บาท x จำนวน 40 คน
=
2,800.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 4,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 100.00 บาท x จำนวน 40 คน
=
4,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 15,180.00 บาท )
1) - ค่าบำรุงวัด
=
4,680.00 บาท
2) - ค่าจ้างเหมาถอดเทป
=
2,000.00 บาท
3) - ค่าจ้างเหมาแรงงาน (10 คน x 200 บาท)
=
2,000.00 บาท
4) - ค่าจ้างเหมาบริการจัดทำวิดีโอ
=
2,500.00 บาท
5) - ค่าจ้างเหมาประมวลผลแบบสอบถามโครงการ
=
4,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 13,700.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 13,700.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
6,000 แผ่น x 0.50 บาท
=
3,000.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
8,700.00 บาท
=
8,700.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
1,000.00 บาท
=
1,000.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
0 คน x 0.00 บาท
=
0.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
1,000.00 บาท
=
1,000.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 54,600.00 บาท