แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2555
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ โครงการเผยแพร่ความรู้ด้านยาและสุขภาพแก่ประชาชน
ลักษณะโครงการ การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาวะและบริการสุขภาพ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชน
นโยบาย : บริการวิชการด้านอื่นๆ : บริการวิชาการด้านสุขภาวะ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
ดร.สุทธาสินี สุวรรณกุล คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : Pharmaceutical Sciences
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
หัวหน้าโครงการ

หลักการและเหตุผล
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานีที่มีความพร้อมทั้งทางด้านแหล่งข้อมูลและบุคลากรที่จะให้บริการแก่ชุมชน ได้เล็งเห็นความสำคัญของการให้การดูแลสุขภาพประชาชนโดยรอบมหาวิทยาลัยรวมทั้งบุคลากรในมหาวิทยาลัย โดยคณะเภสัชศาสตร์จะจัดให้มีการจัดนิทรรศการเรื่องการใช้ยาสามัญประจำบ้าน การให้ความรู้โดยวิทยากรจากคณะเภสัชศาสตร์เกี่ยวกับการใช้ยาที่พบบ่อยในชีวิตประจำวัน การให้คำปรึกษาด้านยาและการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายโดยวิทยากรภายนอก โครงการดังกล่าวจะประชาสัมพันธ์ไปยังคณะต่าง ๆ และชุมชนรอบมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี โดยผ่านทางผู้นำชุมชนและองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) โดยจะจัดทำแฟ้มประวัติผู้ร่วมโครงการ สำหรับแลกเปลี่ยนเพื่อเรียนรู้จักกันมากขึ้น มีการดูแลเรื่องยาสำหรับผู้ร่วมโครงการ ตรวจเบื้องต้นเพื่อหาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง การค้นหาปัญหาและแก้ปัญหาด้านยาเพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ด้วยความรักความห่วงใยยั่งยืนระหว่างกัน โดยผ่านทางกิจกรรมการออกกำลังกายร่วมกัน กลุ่มวิชาเภสัชกรรมปฏิบัติ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ตระหนักถึงความสำคัญและจำเป็นดังกล่าว จึงจัดกิจกรรมดังกล่าวขึ้น เพื่อให้ประชาชนผู้สูงอายุ ได้รับการดูแลด้านยาจากเภสัชกร

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้บริการทางเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยที่มารับบริการ ณ โรงพยาบาล สถานพยาบาล โดยคณาจารย์
2.เพื่อให้เกิดการประสานความร่วมมือระหว่างคณะเภสัชศาสตร์และแหล่งฝึกปฏิบัติวิชาชีพ
3.เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านยาและสุขภาพแก่ประชาชน

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
ผู้รับบริการ ได้แก่ ประชาชนผู้มารับบริการ 100 คน ผู้ให้บริการ ได้แก่ คณาจารย์จำนวน 8 คน
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
100 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. นำเสนอโครงการเพื่อเสนอขอรับจัดสรรงบประมาณ 2. การประชุมผู้ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อวางแผนการดำเนินการ 2.1 แผนการการจัดกิจกรรม 2.2 แผนการจัดซื้อวัสดุในการดำเนินกิจกรรม 3.กำหนดรูปแบบกิจกรรม 4. การดำเนินการให้บริบาลทางเภสัชกรรม แก่ประชาชน ตามรูปแบบกิจกรรมที่กำหนดไว้ 5. การประเมินผลการดำเนินงาน -จำนวนประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ -การประเมินความพึงพอใจของประชาชน 6.สรุปผลการดำเนินงาน

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2554
2555
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.ประชุมผู้ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อวางแผนการดำเนินการ -แผนการการจัดกิจกรรม -แผนการจัดซื้อวัสดุในการดำเนินกิจกรรม --- --- --- 0.00
2.ดำเนินการให้บริบาลทางเภสัชกรรม แก่ประชาชน ตามรูปแบบกิจกรรมที่กำหนดไว้ --- --- --- 70,320.00
3.ดำเนินการให้บริบาลทางเภสัชกรรม แก่ประชาชน ตามรูปแบบกิจกรรมที่กำหนดไว้ (ต่อ) --- --- - 71,680.00
4.ประเมินผลการดำเนินงาน -จำนวนประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ -การประเมินความพึงพอใจของประชาชน สรุปผลการดำเนินงานโครงการ --- --- --- - 0.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2555 - 31 สิงหาคม พ.ศ. 2555 รวมเวลา 1 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
0 พ.ศ. 543
ระยะเวลาดำเนินการ ในสัปดาห์ที่ 2 และ 3 ของเดือนมกราคม พ.ศ. 2555 สัปดาห์ละ 3 วัน รวม 6 วัน จัดกิจกรรมออกหน่วยให้ความรู้เรื่องยาและการดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชน อำเภอน้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี คณาจารย์จากคณะเภสัชศาสตร์ และนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 4
0 พ.ศ. 543
ระยะเวลาดำเนินการ จัดทุกสัปดาห์ในเดือนมกราคม - สิงหาคม พ.ศ. 2555 โดยจัดสัปดาห์ละหนึ่งวัน รวม ทั้งสิ้ จัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องยาและการดูแลสุขภาพ ณ สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน สาขา หน้ามหาวิทยาลัยอุบล คณาจารย์จากคณะเภสัชศาสตร์ และนักศึกษาเภสัชศาสตร์

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : 1. ผู้สูงอายุได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมที่มีคุณภาพ 2. มีการพัฒนาอาจารย์ในงานเภสัชกรรมคลินิกและพัฒนาแหล่งฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพทั้งด้านทรัพยากรบุคคลและการปฏิบัติงาน 3. เกิดการประสานความร่วมมือระหว่างคณะเภสัชศาสตร์และชุมชน รอบ ม.อุบลราชธานี
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
0
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
90
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
-0
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา รายวิชาเวชศาสตร์ชุมชน และรายวิชาปัญหาพิเศษทางเภสัชกรรมการจ่ายยา 2
หลักสูตร เภสัชศาสตรบัณฑิต
นักศึกษาชั้นปี : 4
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด - ร้อยละของนักศึกษาที่มีส่วนร่วมในการให้บริการวิชาการ - จำนวนกรณีศึกษาจากผู้ป่วยจริงที่นักศึกษาได้เก็บข้อมูลและวางแผนการแก้ไขปัญหาจากการใช้ยา
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 41,680.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 28,800.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 14,400.00 บาท )
1) จำนวน 24 วัน x จำนวน 1 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
14,400.00 บาท
-วิทยากรภายใน ( รวม 14,400.00 บาท )
1) จำนวน 24 วัน x จำนวน 1 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
14,400.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 12,880.00 บาท )
1) ค่าเบี้ยเลียงคณาจารย์ที่ออกปฏิบัติงานในพื้นที่ชุมชนจำนวน 3 คน x จำนวน 10 ชม. x จำนวน 240.00 บาท/ชม.
=
7,200.00 บาท
2) ค่าเบี้ยเลี้ยงพนักงานขับรถยนต์จำนวน 1 คน x จำนวน 10 ชม. x จำนวน 240.00 บาท/ชม.
=
2,400.00 บาท
3) ค่าปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ในวันราชการจำนวน 4 คน x จำนวน 2 ชม. x จำนวน 200.00 บาท/ชม.
=
1,600.00 บาท
4) ค่าปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ในวันหยุดราชการจำนวน 4 คน x จำนวน 1 ชม. x จำนวน 420.00 บาท/ชม.
=
1,680.00 บาท

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 25,000.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 5,000.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 5,000.00 บาท )
1) จำนวน 10 คืน x จำนวน 1 ห้อง x ห้องละ 500.00 บาท
=
5,000.00 บาท
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 5,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 100 คน
=
5,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 15,000.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาถ่ายเอกสารและเข้าเล่มเอกสาร
=
5,000.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมาจัดทำเวที โต๊ะแสดงนิทรรศการ
=
10,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 15,320.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 13,320.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
0 แผ่น x 0.50 บาท
=
0.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
3,320.00 บาท
=
3,320.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
5,000.00 บาท
=
5,000.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
0 คน x 5,000.00 บาท
=
0.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
5,000.00 บาท
=
5,000.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 2,000.00 บาท )
1) ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์
=
2,000.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 82,000.00 บาท