แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2558
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ มหกรรมวิชาการสายสังคมศาสตร์
ลักษณะโครงการ การประชุมวิชาการ สัมมนาเชิงวิชาการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : พัฒนาระบบและกลไกการบริหารงานบริการวิชาการให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดการบูรณาการกับการวิจัยและการเรียนการสอน
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้แก่ชุมชน ร่วมกับหน่วยงานราชการ ภาครัฐ ภาคธุรกิจ เอกชน
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
ดร.อรทัย เลียงจินดาถาวร คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : รัฐประศาสนศาสตร์
ประสบการณ์ : "ด้านการสอน 10 ปี ด้านการวิจัยและการบริการวิชาการ 10 ปี ด้านการบริหาร: รองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา รองคณบดีฝ่ายวิชาการ (ปัจจุบัน) "
ความเชี่ยวชาญ : "การบริหารโครงการ การวางแผนฯ ธรรมาภิบาล นโยบายสาธารณะ การจัดการภัยพิบัติ และงานวิจัยรับใช้สังคม"
หัวหน้าโครงการ
รศ.ดร.ไชยันต์ รัชชกูล คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : Ph.D. sociology
ประสบการณ์ : คณบดีคณะรัฐศาสตร์
ความเชี่ยวชาญ : สังคมวิทยา
ผู้ร่วมโครงการ
ดร.อรุณี สัณฐิติวณิชย์ คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ : การบริหารระบบราชการ
ผู้ร่วมโครงการ
ดร.ณรุจน์ วศินปิยมงคล คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : PhD (Politics)
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ : ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวรจนา คำดีเกิด คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : รัฐประศาสนศาสตร์
ประสบการณ์ : รองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา
ความเชี่ยวชาญ : การปกครองท้องถิ่น
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวศิริพร ยศมูล คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : รัฐประศาสนศาสตร์
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : การคลังท้องถิ่นนโยบายสาธารณะการบริหารทรัพยากรมนุษย์
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวกิ่งกาญจน์ สำนวนเย็น คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ : การเมืองภาคประชาชน
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวปิยะมาศ ทัพมงคล คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : -
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
ผู้ร่วมโครงการ
นายกรุงไท นพรัตน์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : "public policy public administration "
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวเพียงกมล มานะรัตน์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : การปกครอง
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : การเมืองท้องถิ่น และ นโยบายสาธารณะ
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวกาญจนา ทองทั่ว คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต
ประสบการณ์ : นักวิจัย สกว.
ความเชี่ยวชาญ : งานวิจัยรับใช้สังคม
ผู้ร่วมโครงการ
ผศ.บรรลือ คงจันทร์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : Master of Civil Law and Juris Doctor in Civil Law
ประสบการณ์ : ผู้เชี่ยวชาญ
ความเชี่ยวชาญ : กฎหมาย
ผู้ร่วมโครงการ
ดร.James Leslie TAYLOR คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : o Ph.D. (Social Anthropology)
ประสบการณ์ : ผู้เชี่ยวชาญ
ความเชี่ยวชาญ : สังคมศาสตร์
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
การเรียนการสอนในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์นั้น ถือเป็นส่วนสำคัญในการสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ศึกษา ซึ่งไม่เพียงแต่ให้สามารถเอาตัวรอดและใช้ชีวิตในสังคมที่สลับซับซ้อนได้เท่านั้น แต่ยังมีปรัชญาในการส่งเสริมพลเมืองให้สามารถดำรงตนอยู่ในสังคมได้อย่างดีอีกด้วย แต่เนื่องด้วยธรรมชาติของศาสตร์ในสาขานี้ไม่อาจก่อให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจอย่างเป็นรูปธรรม จึงมักจะถูกละเลยจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งรวมถึงสัดส่วนด้านงบประมาณที่มีจำนวนจำกัด สำหรับมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เป็นสถาบันการศึกษาที่เปิดดำเนินการเพื่อรับใช้สังคมเป็นเวลานาน และมีการจัดการเรียนการสอนในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ 5 คณะ ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะศิลปะประยุกต์และการออกแบบ คณะบริหารศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ และคณะรัฐศาสตร์ ซึ่งทุกคณะมีรูปแบบ เทคนิค และวิธีการจัดการเรียนการสอนที่ได้มาตรฐาน มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เห็นได้จากคุณภาพของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานของนักศึกษาในสาขาวิชาสังคมศาสตร์จึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะนอกจากจะเป็นการให้ความรู้แก่นักเรียนในโรงเรียนเครือข่ายของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีแล้ว ยังส่งผลให้เกิดเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสังคมศาสตร์จากบุคลากรการศึกษาของทั้ง 5 คณะ อีกทั้งยังเป็นการสร้างความเข้มแข็งเชิงวิชาการในสายสังคมศาสตร์ในนามของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีอย่างยั่งยืนต่อไปด้วย

วัตถุประสงค์
1.1. เพื่อส่งเสริมความรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์แก่นักเรียนในโรงเรียนเครือข่ายของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีและโรงเรียนทั่วไป
2.2. เพื่อสร้างเครือข่ายและส่งเสริมความเข้มแข็งเชิงวิชาการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ทั่วประเทศ

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
นักเรียนในโรงเรียนเครือข่ายของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และโรงเรียนทั่วไป และนักวิชาการ นักศึกษาจากเครือข่ายสังคมศาสตร์ทั่วประเทศ
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
500 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
ลำดับ กิจกรรม วิธีดำเนินงาน 1 กิจกรรมนำเสนอผลงานของนักศึกษาสายสังคมศาสตร์ ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะบริหารศาสตร์ คณะศิลปประยุกต์และการออกแบบ และคณะรัฐศาสตร์ จัดกิจกรรมโดยการประสานงานเครือข่ายนักวิชาการทางสังคมศาสตร์ทั่วประเทศ และโรงเรียนในจังหวัดอุบลราชธานี 2 กิจกรรมแข่งขันการตอบปัญหาวิชาการทางสังคมศาสตร์ จัดกิจกรรมโดยการประสานงานเครือข่ายนักวิชาการทางสังคมศาสตร์ทั่วประเทศ และโรงเรียนในจังหวัดอุบลราชธานี 3 การประกวดนิทรรศการสาขาวิชาสังคมศาสตร์ จัดกิจกรรมโดยการประสานงานเครือข่ายนักวิชาการทางสังคมศาสตร์ทั่วประเทศ และโรงเรียนในจังหวัดอุบลราชธานี 4 การประกวดวาดภาพทางสังคมศาสตร์ จัดกิจกรรมโดยการประสานงานกับโรงเรียนในจังหวัดอุบลราชธานี 5 การเสวนาทางวิชาการ จัดกิจกรรมโดยการประสานงานกับนักวิชาการทางสังคมศาสตร์ทั่วประเทศ

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2557
2558
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.1.กำหนดรูปแบบงานและกิจกรรมในแต่ละช่วง (plan) -- --- --- --- 0.00
2.2. กำหนดหัวข้อหลัก(Theme)ในการจัดงาน (plan) -- --- --- --- 0.00
3.3.เตรียมความพร้อมการจัดนิทรรศการ (do) -- -- --- --- 50,000.00
4.4.เตรียมความพร้อมกิจกรรมการตอบปัญหาวาดภาพ และนิทรรศการวิชาการ (do) -- -- --- --- 35,000.00
5.5. เตรียมความพร้อมกิจกรรมนำเสนอผลงานวิชาการ (do) -- -- --- --- 111,000.00
6.6.ประชาสัมพันธ์งาน (do) -- -- --- --- 19,000.00
7.7. สรุปและประเมินผลการดำเนินงาน รอบที่ 1 (check) --- -- --- --- 0.00
8.8.ดำเนินกิจกรรมตามรูปแบบที่กำหนดไว้ (act) --- -- --- --- 125,000.00
9.9.ประเมินผลการดำเนินงาน รอบที่ 2 (check) --- -- --- --- 2,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 - 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 รวมเวลา 1 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียน
27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
09.00 – 09.15 น. พิธีเปิดโดยอธิการบดีมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
09.15 – 12.00 น. กิจกรรมเสวนาทางวิชาการทางสังคมศาสตร์
27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
13.00 – 16.00 น. กิจกรรมนำเสนอผลงานวิชาการ กิจกรรมการประกวดนิทรรศการ กิจกรรมการประกวดวาดภาพ กิจกรรมการแข่งขันตอบปั
27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
16.00 – 16.30 น. พิธีมอบรางวัลจากการแข่งขันทุกกิจกรรม
27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
16.30 – 16.45 น. พิธีปิด

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ :
ด้านสังคม : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ 2. เกิดการสร้างเครือข่ายและส่งเสริมความเข้มแข็งเชิงวิชาการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ทั่วประเทศ
ด้านสิ่งแวดล้อม :
ด้านอื่นๆ :

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
500
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-ไม่มีข้อมูล

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา ระเบียบวิธีวิจัยทาง
หลักสูตร หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต
นักศึกษาชั้นปี : 4
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ร้อยละของนักศึกษาที่ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น / สามารถสอบผ่านใน
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ จำนวนโครงการวิจัยของนักศึกษาที่ได้จากการบริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 51,000.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 51,000.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 51,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 1 ชม. x ชม.ละ 1,000.00 บาท x จำนวน 6 คน
=
6,000.00 บาท
2) จำนวน 1 วัน x จำนวน 1 ชม. x ชม.ละ 1,000.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
2,000.00 บาท
3) จำนวน 1 วัน x จำนวน 1 ชม. x ชม.ละ 1,000.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
3,000.00 บาท
4) จำนวน 1 วัน x จำนวน 1 ชม. x ชม.ละ 2,000.00 บาท x จำนวน 20 คน
=
40,000.00 บาท
-วิทยากรภายใน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 217,000.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 31,000.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 15,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 ครั้ง x จำนวน 3 คน x ครั้งละ 5,000.00 บาท
=
15,000.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 16,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 คืน x จำนวน 20 ห้อง x ห้องละ 800.00 บาท
=
16,000.00 บาท
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 25,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 500 คน
=
25,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 25,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 500 คน
=
25,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 136,000.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาบริการจัดทำวิดีโอ
=
5,000.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมาแรงงาน (50 คน*300บาท*1วัน)
=
15,000.00 บาท
3) ค่าจ้างเหมาทำความสะอาด
=
10,000.00 บาท
4) เงินรางวัลกิจกรรมตอบปัญหา (ระดับ 6,000บาท*2ระดับ)
=
12,000.00 บาท
5) เงินรางวัลกิจกรรมประกวดนิทรรศการ
=
6,000.00 บาท
6) เงินรางวัลกิจกรรมประกวดวาดภาพ
=
6,000.00 บาท
7) ค่าเช่าเหมารถรวมน้ำมันโรงเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม (1,000บาท*30 โรงเรียน)
=
30,000.00 บาท
8) ค่าจ้างเหมาจัดนิทรรศการ (10,000บาท*5คณะ)
=
50,000.00 บาท
9) ค่าจ้างเหมาประมวลผลแบบสอบถามโครงการ
=
2,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 74,000.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 34,000.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
0 แผ่น x 0.50 บาท
=
0.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
15,000.00 บาท
=
15,000.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
19,000.00 บาท
=
19,000.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
0 คน x 0.00 บาท
=
0.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 40,000.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสารและตีพิมพ์เอกสาร Proceeding
=
40,000.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 342,000.00 บาท