แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2555
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมเยาวชนไทยสืบทอดงานประติมากรรมเทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานี
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีที่เหมาะสมบนฐานวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ดีงาม เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและการพึ่งพาตนเองของชุมชนท้องถิ่น
นโยบาย : โครงการบริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้แก่ชุมชน ร่วมกับภาครัฐ เอกชน
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นางสาวมะลิวัลย์ สินน้อย คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
ประสบการณ์ : ประสบการณ์การทำงานด้านบรรณารักษ์และสารสนเทศในทำงานประมาณ 22 ปี
ความเชี่ยวชาญ : ด้านบรรณารักษศาสตร์และด้านสารสนเทศศาสตร์
หัวหน้าโครงการ

หลักการและเหตุผล
ประเพณีแห่เทียนพรรษา เป็นประเพณีที่สำคัญ ของจังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งเป็นประเพณีทางพุทธศาสนาที่สำคัญสืบทอดกันมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ถือเป็นงานบุญที่ยิ่งใหญ่และสร้างชื่อเสียงให้กับชาวจังหวัดอุบลราชธานี จัดให้มีขึ้นทุกปี ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 และแรม 1 ค่ำเดือน 8 หรือวันอาสาฬหบูชา สถานที่จัดบริเวณทุ่งศรีเมือง และศาลาจัตุรมุข จะเห็นได้ว่าได้มีการสืบทอดประเพณีกันมาช้านานแล้ว ซึ่งในงานแห่เทียนพรรษาที่สำคัญของจังหวัดนั้น จะเน้นในเรื่องของต้นเทียนพรรษาที่แต่ละวัดนำมาประกวดในงานวันเข้าพรรษา คนส่วนใหญ่จะได้แต่ชมงานแห่เทียนพรรษาที่จัดขึ้นแต่ยังไม่ทราบถึงขั้นตอนวิธีการทำต้นเทียนพรรษาแต่ละประเภท เพื่อที่จะปลูกฝังคนรุ่นใหม่ให้อนุรักษ์วัฒนธรรมดั้งเดิมของบรรพบุรุษที่สืบทอดกันมา ซึ่งเป็นการสืบสานประเพณีอันดีงาม ที่พวกเราชาวอุบลราชธานี ควรจะสืบทอดวิธีการจัดทำต้นเทียนพรรษาให้เป็นที่รู้จักสืบไป ดังนั้นจึงเห็นควรให้มีการสืบทอดวัฒนธรรมอันดีงามนี้โดยการสอนคนรุ่นใหม่ให้รู้จักวิธีการจัดทำต้นเทียนพรรษาเพื่อที่จะได้สืบสานวัฒนธรรมนี้ต่อไป โดยให้ผู้ที่มีความรู้ความสามารถในการจัดทำขั้นตอนการทำต้นเทียนพรรษาทั้งประเภทติดพิมพ์ และประเภทแกะสลัก ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิคอยให้คำแนะนำในการอบรมการจัดทำต้นเทียนพรรษา ให้กับนักเรียน/นักศึกษาที่ได้เข้าร่วมอบรม เพื่อให้เกิดจิตสำนึกในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น และสามารถที่จะเป็นช่างทำต้นเทียนพรรษาได้ต่อไปในอนาคต

วัตถุประสงค์
1.เพื่อเผยแพร่ขั้นตอนและวิธีการจัดทำต้นเทียนพรรษา ประเภทแกะสลักและประเภทติดพิมพ์ เพื่อเกิดจิตสำนึกอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น
2.เพื่อให้เยาวชนโดยเฉพาะนักเรียน นักศึกษา ได้ทราบวิธีการ ขั้นตอนการทำ เทียนพรรษา เป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมภูมิปัญญาชาวบ้าน และเป็นการ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ประเพณีการแห่เทียนพรรษา ซึ่งเป็นประเพณีที่มีชื่อเสียงของจังหวัดอุบลราชธานี

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
นักเรียน/นักศึกษา
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
400 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
แผนการดำเนินงาน กิจกรรมและวิธีดำเนินการ (ตามตาราง) กิจกรรม ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ รวมเงิน (บาท) ไตรมาสที่ ๑ ไตรมาสที่ ๒ ไตรมาสที่ ๓ ไตรมาสที่ ๔ ต.ค. พ.ย ธ.ค. ม.ค. ก.พ มี.ค. เม.ย พ.ค มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. แผนงาน 1. เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจากทรงคุณวุฒิด้านประเพณีการแห่เทียน (ออกสำรวจ) 3,000 2. ติดต่อประสานวิทยากร 5,000 3. . ติดต่อประสานไปยังสถานศึกษาในจังหวัดอุบลราชธานี 5,000 4 .เตรียมงานและเตรียมเอกสารประกอบการอบรม 50,000 5..จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการวิธีการและขั้นตอนการทำเทียนพรรษา 4รุ่น ประเภทติดพิมพ์และประเภทแกะสลัก 144,000 6.สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน 3,000 แผนเงิน (บอกจำนวนเงินที่มีแผนจะใช้ในแต่ละไตรมาส) 5,000 30,000 30,000 145,000 210,000

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2554
2555
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1. --- --- -- --- 0.00
2. --- --- -- --- 0.00
3. --- --- --- -- 0.00
4. --- --- --- -- 0.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 - 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 รวมเวลา 4 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : เป็นการประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ที่เป็นหน่วยงานให้การสนับสนุนในด้านการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม เป็นประโยชน์ต่อคนรุ่นหลังที่จะได้รับรู้ข้อมูลความเป็นมาของการทำต้นเทียนพรรษา
ด้านสิ่งแวดล้อม : ปลูกฝังนิสัยในการอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของไทยให้สืบไป
ด้านอื่นๆ : เป็นการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับประเพณีการแห่เทียนพรรษา ของจังหวัดอุบลราชธานี

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
400
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
ผู้เข้าร่วมอบรมทราบวิธีการทำเทียนพรรษาและเกิดจิตสำนึกอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา ภาพยนต์ปริทัศน์
หลักสูตร นิเทศศาสตร์
นักศึกษาชั้นปี : 3
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด ร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมในกิจกรรมไม่ต่ำว่าร้อยละ 80
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 58,000.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 48,000.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 48,000.00 บาท )
1) จำนวน 4 วัน x จำนวน 5 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 4 คน
=
48,000.00 บาท
-วิทยากรภายใน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 10,000.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 10,000.00 บาท )
1) จำนวน 5 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 10 คน
=
10,000.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 99,900.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 3,000.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 3,000.00 บาท )
1) จำนวน 5 ครั้ง x จำนวน 1 คน x ครั้งละ 600.00 บาท
=
3,000.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 24,000.00 บาท )
1) จำนวน 8 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 120 คน
=
24,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 38,400.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 80.00 บาท x จำนวน 120 คน
=
38,400.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 34,500.00 บาท )
1) ค่าเช่าวัสดุและอุปกรณ์ในการทำเทียน
=
20,000.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมารวบรวมข้อมูลและพิมพ์ข้อมูล
=
4,500.00 บาท
3) ค่าจ้างเหมาจัดสถานที่และเตรียมสถานที่
=
10,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 52,100.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 24,100.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
1,000 แผ่น x 0.50 บาท
=
500.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
9,600.00 บาท
=
9,600.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
8,000.00 บาท
=
8,000.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
0 คน x 5,000.00 บาท
=
0.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
6,000.00 บาท
=
6,000.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 28,000.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาจัดทำรูปเล่มเอกสาร 400เล่ม x 70 บาท
=
28,000.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 210,000.00 บาท