แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2558
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ โครงการประชาธิปไตยแข็งแรง ยกกำลัง3
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับชุมชน หน่วยงานของรัฐ ตลอดจนภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม เพื่อการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การพัฒนาการศึกษาแก่โรงเรียนเครือข่าย มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
วิชา : งานพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อมโรงเรียนและชุมชน
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นางสาวรจนา คำดีเกิด คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : รัฐประศาสนศาสตร์
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : การปกครองท้องถิ่น
หัวหน้าโครงการ
ดร.อรทัย เลียงจินดาถาวร คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : รัฐประศาสนศาสตร์
ประสบการณ์ : "ด้านการสอน 10 ปี ด้านการวิจัยและการบริการวิชาการ 10 ปี ด้านการบริหาร: รองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา รองคณบดีฝ่ายวิชาการ (ปัจจุบัน) "
ความเชี่ยวชาญ : "การบริหารโครงการ การวางแผนฯ ธรรมาภิบาล นโยบายสาธารณะ การจัดการภัยพิบัติ และงานวิจัยรับใช้สังคม"
ผู้ร่วมโครงการ
ดร.ณรุจน์ วศินปิยมงคล คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : PhD (Politics)
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ : ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ผู้ร่วมโครงการ
ดร.อรุณี สัณฐิติวณิชย์ คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : รัฐประศาสนศาสตร์
ประสบการณ์ : หัวหน้าสาขารัฐประศาสนศาสตร์
ความเชี่ยวชาญ : การบริหารงานภาครัฐ
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวเพียงกมล มานะรัตน์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : -
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวปิยะมาศ ทัพมงคล คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : -
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาววิภาพรรณ ตระกูลสันติรัตน์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : การจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
ประสบการณ์ : สอน วิจัย บริการวิชาการ งานบริหาร: รองคณบดีฝ่ายวิชาการ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายพัฒนาหลักสูตร รองคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพ วิจัย และบริการวิชาการ (ปัจจุบัน)
ความเชี่ยวชาญ : HRM, HRD, HR, Recruitment & Selection Organization Management Operation Management Public Service Motivation
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวบุญทิวา พ่วงกลัด คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ : ภาษาอังกฤษ
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
แม้ว่า “ประชาธิปไตย” จะเป็นคำที่เป็นที่รู้จักของผู้คนในปัจจุบัน จากการสนับสนุนของภาครัฐและองค์กรระหว่างประเทศเพื่อกระตุ้นความเป็นประชาธิปไตยให้กับประเทศไทย ทำให้การเข้าถึงแก่นแท้ของความหมายประชาธิปไตยนั้นดูจะไม่ใช่เรื่องที่หนักหนาสาหัสแต่ประการใด แต่เพราะการที่ประชาธิปไตยได้ถูกนำไปใช้ในหลายรูปแบบ หลายวิธีการ และหลายเป้าหมาย ประชาธิปไตยในปัจจุบัน จึงดูเหมือนจะกลายเป็นคำที่ถูกหยิบยกขึ้นมาเพื่อกล่าวอ้างถึงความชอบธรรมในการตอบสนองความต้องการบางอย่างของผู้ที่หยิบยกขึ้นมาใช้ มากกว่าที่จะเข้าใจในวิถีทางประชาธิปไตยที่แท้จริง ด้วยเหตุนี้ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จึงได้จัดให้มีโครงการประชาธิปไตยแข็งแรง เพื่อให้เยาวชนในจังหวัดอุบลราชธานีเกิดความเข้าใจในระบอบประชาธิปไตยอย่างถ่องแท้ อันนำไปสู่การซึมซับแนวทางของประชาธิปไตยในชีวิตประจำวัน และสามารถใช้สิทธิเสรีภาพของความเป็นพลเมือง ที่ตรงกับหลักการปกครองของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน ซึ่งทั้งหมดนี้จะทำให้รากฐานของประชาธิปไตยได้รับการพัฒนาได้อย่างแท้จริงในท้ายที่สุด

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าใจวิถีทางของประชาธิปไตยอย่างถ่องแท้
2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดการพัฒนาจิตสำนึกที่เกี่ยวข้องกับประชาธิปไตย

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
นักศึกษาจำนวน 40 คน อาจารย์ 8 คน นักเรียนโรงเรียนเครือข่ายมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2 โรงเรียน 200 คน
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
248 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1.การบรรยายความรู้เรื่องประชาธิปไตย โดยคณาจารย์คณะรัฐศาสตร์ 2.การแสดงหมอลำการเมือง 3.นิทรรศการประชาธิปไตย

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2557
2558
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.กำหนดรูปแบบกิจกรรมการเผยแพร่ความรู้ประชาธิปไตยให้สอดคล้องกับโรงเรียนที่เป็นพื้นที่เป้าหมาย (plan) -- --- --- --- 0.00
2.เตรียมความพร้อมการลงพื้นที่ (plan) -- --- --- --- 11,400.00
3.ติดต่อประสานงานกับโรงเรียน (plan) -- --- --- --- 0.00
4.ดำเนินกิจกรรมตามรูปแบบ ในพื้นที่โรงเรียนที่กำหนดไว้ (do) --- -- --- --- 77,600.00
5.ประเมินผลการดำเนินงาน (check) --- -- --- --- 1,000.00
6.เขียนรายงานโครงการพร้อมระบุแนวทางปรับปรุงแก้ไขและพัฒนา --- -- --- --- 0.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 - 16 มีนาคม พ.ศ. 2558 รวมเวลา 158 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
12 มกราคม พ.ศ. 2558
13.00-14.00 บรรยายความรู้เรื่องประชาธิปไตย และจัดนิทรรศการ คณาจารย์คณะรัฐศาสตร์
12 มกราคม พ.ศ. 2558
14.00-16.00 การแสดงหมอลำการเมืองเพื่อแสดงบทบาทสมมุติเนื้อหาเกี่ยวกับประชาธิปไตย ชุมนุมหมอลำการเมือง
19 มกราคม พ.ศ. 2558
13.00-14.00 บรรยายความรู้เรื่องประชาธิปไตย และจัดนิทรรศการ คณาจารย์คณะรัฐศาสตร์
19 มกราคม พ.ศ. 2558
14.00-16.00 การแสดงหมอลำการเมืองเพื่อแสดงบทบาทสมมุติเนื้อหาเกี่ยวกับประชาธิปไตย ชุมนุมหมอลำการเมือง

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : สามารถบริหารจัดการงบประมาณได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ด้านสังคม : - นักเรียนในโรงเรียนเครือข่ายสามารถเข้าใจประชาธิปไตยและการเมืองเพิ่มมากขึ้น - สามารถสร้างเครือข่ายการทำกิจกรรมกับโรงเรียนต่างๆได้ - นักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ได้ฝึกประสบการณ์การให้บริการวิชาการแก่เยาวชนโดยใช้ความรู้ที่เรียนมาในการประยุกต์ใช้ประโยชน์ให้เกิดผลดีต่อสังคม
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
248
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
สามารถบริหารจัดการงบประมาณที่ได้รับตามจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการที่ระบุไว้หรือมากกว่า

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา รัฐ สังคม และนโยบายสาธารณะ/จริยธรรมและการจัดการปกครอง
หลักสูตร รัฐศาสตรบัณฑิต/รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
นักศึกษาชั้นปี : 4/2
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมทั้ง 2 วัน
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ ให้นักศึกษาจัดนิทรรศการประชาธิปไตย

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 11,000.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 11,000.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 3,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 1,000.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
3,000.00 บาท
-วิทยากรภายใน ( รวม 8,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 1 ชม. x ชม.ละ 500.00 บาท x จำนวน 8 คน
=
8,000.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 77,000.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 9,600.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 48 คน
=
9,600.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 67,400.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมารถรวมน้ำมัน
=
10,000.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมาจัดนิทรรศการประชาธิปไตย
=
5,000.00 บาท
3) ค่าจ้างเหมาจัดกิจกรรมหมอลำการเมือง
=
50,000.00 บาท
4) ค่าจ้างเหมาประเมินผล
=
1,000.00 บาท
5) ค่าน้ำมันหล่อลื่นรถตู้คณะรัฐศาสตร์
=
1,000.00 บาท
6) ค่าถ่ายเอกสาร
=
400.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 2,000.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 2,000.00 บาท )
1) ค่าของรางวัลกิจกรรมตอบคำถาม
=
1,000.00 บาท
2) ค่าของที่ระลึกโรงเรียน
=
1,000.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 90,000.00 บาท