แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2559
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ เปิดบ้านวิทยาศาสตร์
ลักษณะโครงการ การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : เสริมสร้างความเข้มแข็งของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตพื้นที่เป้าหมาย เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของเด็ก เยาวชนและชุมชน
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งหรือการเรียนรู้แก่ชุมชน / สังคม / กลุ่มวิชาชีพ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
ผศ.ดร.อุดม ทิพราช คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : 1. กศ.บ. (ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน 2530 (ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยบูรพา) 2. วท.ม. (ฟิสิกส์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2533 3. Ph.D. (Physics) University of North Dakota 2002 U.S.A. 4. การวิจัยสูงกว่าปริญญาเอก (Postdoctoral Research) Superconducting Quantum Interference Device (SQUID) 2003 University of North Dakota Nanotechnology Carbon nanotubes fabrication and characterization 2005 University of Central Florida
ประสบการณ์ : 1. สอนระดับปริญญาตรี-โท-เอก สาขาวิชาฟิสิกส์ วิทยาศาตร์ศึกษา 2. ทำวิจัยด้านตัวนำยิ่งยวด นาโนเทคโนโลยี พลังงาน วัสดุนาโนเพื่อผันพลังงาน และวิทยาศาตร์ศึกษา 3. ประธานหลักสูตร ปริญญาโท-เอก สาขาวิชาฟิสิกส์ 4. รองหัวหน้าภาควิชาและหัวหน้าภาควิชาฟิสิกส์ 5. รองคณบดีฝ่ายวิชาการ
ความเชี่ยวชาญ : Physics, Nanotechnology, Materials Science for energy conversion, thin films, X-ray diffraction, Science Education and Research
หัวหน้าโครงการ

หลักการและเหตุผล
วิทยาศาสตร์สาขาต่างๆ ในปัจจุบันเจริญก้าวหน้าไปอย่างมากในทุกๆ ด้าน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีติดตามความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์เหล่านี้ และมีการดำเนินการวิจัยในหัวข้อต่างๆ ที่ทันสมัย เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชน และเยาวชนที่ในปัจจุบันที่มีความกระตือรือร้น และสนใจความเป็นไปของวิทยาศาสตร์เป็นอย่างมากได้มีโอกาสเข้ามากเยี่ยมชมนิทรรศการวิทยาศาสตร์ และห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ รวมถึงการพบปะกับนักวิจัยของคณะวิทยาศาสตร์ เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และเสวนาด้านวิชาการ เพื่อนำไปสู่ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ที่ทันสมัยต่อชุมชน และการสร้างความร่วมมือด้านวิชาการต่อไป

วัตถุประสงค์
1.1.เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชน และเยาวชนที่สนใจความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ได้มีโอกาสได้ชมนิทรรศการด้านวิทยาศาสตร์สาขาต่างๆ ที่ทันสมัยทุกสาขาวิชา รวมทั้งแลกเปลี่ยนความรู้ และพบปะเสวนากันในทุกสาขาวิชา 2.เพื่อประชาสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ให้แก่ นักเรียน และ คณาจารย์จากโรงเรียนต่างๆ

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ นักเรียน เยาวชน และประชาชน ในจังหวัดอุบลราชธานี คณาจารย์ โดยเฉพาะครูแนะแนวและนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนต่างๆ ในจังหวัดอุบลราชธานีและจังหวัดใกล้เคียง
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
1000 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1.จัดการประชุมเพื่อกำหนดรูปแบบการดำเนินงาน 2. ประชาสัมพันธ์การจัดงาน 3. ประชุมเตรียมความพร้อม 4. ดำเนินการเปิดนิทรรศการ ปฏิบัติการ และเวทีเสวนา 5. ประเมินผลการจัดงานและจัดทำรายงานผลการดำเนินงาน

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2558
2559
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.จัดการประชุมเพื่อกำหนดรูปแบบการดำเนินงาน --- --- --- 2,500.00
2.ประชาสัมพันธ์การจัดงาน --- --- --- 50,000.00
3.เตรียมงานและดำเนินการโครงการ --- --- --- 92,500.00
4.ประเมินผลการจัดงานและจัดทำรายงานผลการดำเนินงาน --- --- --- -- 5,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 - 30 กันยายน พ.ศ. 2559 รวมเวลา 366 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : 1.เป็นการประชาสัมพันธ์ ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ด้านสังคม : 1.สามารถเสริมสร้างความเข้าใจถึงความสำคัญของวิทยาศาสตร์สาขาต่างๆ รวมทั้งกระตุ้นให้เยาวชน และประชาชนเห็นความสำคัญของวิทยาศาสตร์สาขาต่างๆ 2.เป็นการประชาสัมพันธ์ ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ด้านสิ่งแวดล้อม :
ด้านอื่นๆ :

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
1000
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-ไม่มีข้อมูล

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา ชีววิทยา
หลักสูตร วิทยาศาสตร์บัณฑิต
นักศึกษาชั้นปี : 1
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ร้อยละ 80 นักศึกษาที่ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น / สามารถสอบผ่านในรายวิชา
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด ร้อยละ 90 นักศึกษาที่มีส่วนร่วมในการให้บริการวิชาการ
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ จำนวนร้อยละ 80 โครงการวิจัยของนักศึกษาได้จากการบริการวิชาการอย่างน้อย 1 โครงการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 0.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 85,500.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 20,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 20.00 บาท x จำนวน 500 คน
=
20,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 65,500.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาจัดนิทรรศการ 4 ภาควิชาๆ ละ 10,000 บาท
=
40,000.00 บาท
2) ค่าล้างอัดภาพดิจิตอล
=
500.00 บาท
3) ค่าเหมาจ่ายประชาสัมพันธ์
=
5,000.00 บาท
4) ค่าของที่ระลึก
=
5,000.00 บาท
5) ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบ
=
15,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 64,500.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 20,000.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
0 แผ่น x 0.50 บาท
=
0.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
20,000.00 บาท
=
20,000.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
0 คน x 0.00 บาท
=
0.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 44,500.00 บาท )
1) ค่าสารเคมี และตัวอย่างที่ใช้ในห้องปฏิบัติการ 4 ภาควิชา
=
44,500.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 150,000.00 บาท