แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2559
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ การประชุมวิชาการระดับชาติ กฎหมายกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ครั้งที่ 2
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับชุมชน หน่วยงานของรัฐ ตลอดจนภาคธุรกิจอุตสาหกรรม เพื่อการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งหรือการเรียนรู้แก่ชุมชน / สังคม / กลุ่มวิชาชีพ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายสหรัฐ โนทะยะ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : -
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
หัวหน้าโครงการ
นายสมบัติ วอทอง คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
ประสบการณ์ : ทนายความ
ความเชี่ยวชาญ : กฎหมายเกี่ยวกับการพิจารณาคดี,การว่าความ
ผู้ร่วมโครงการ
นายขรรค์เพชร ชายทวีป คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : นิติศาสตรมหาบัณฑิต (สาขากฎหมายมหาชน)
ประสบการณ์ : ทนายความ
ความเชี่ยวชาญ : กฎหมายมหาชน, กฎหมายปกครอง
ผู้ร่วมโครงการ
นายประดิษฐ์ แป้นทอง คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : นิติศาสตรมหาบัณฑิต (สาขากฎหมายเอกชน)
ประสบการณ์ : ทนายความ, นิติกร
ความเชี่ยวชาญ : กฎหมายเอกชน
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวศศิวิมล เสมอใจ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : นิติศาสตรมหาบัณฑิต (สาขากฎหมายกับสังคม)
ประสบการณ์ : อาจารย์ผู้สอนกฎหมายครอบครัว มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ความเชี่ยวชาญ :
ผู้ร่วมโครงการ
นางมิรันตี เจียรักสุวรรณ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : นิติศาสตรมหาบัณฑิต
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
ผู้ร่วมโครงการ
นายอรรถพงศ์ กาวาฬ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : นิติศาสตรมหาบัณฑิต
ประสบการณ์ : นิติกร, ทนายความ
ความเชี่ยวชาญ : กฎหมายอาญา, กฏหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวกิตติยา พรหมจันทร์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : นิติศาสตรมหาบัณฑิต (สาขากฎหมายการคลัง)
ประสบการณ์ : อาจารย์ผู้สอนกฎหมายภาษีอากร
ความเชี่ยวชาญ :
ผู้ร่วมโครงการ
นายรักขิต รัตจุมพฏ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : นิติศาสตรมหาบัณฑิต
ประสบการณ์ : อาจารย์ผู้สอนกฎหมายแพ่ง : หลักทั่วไป ภาษาอังกฤษสำหรับนักกฎหมาย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ความเชี่ยวชาญ : กฎหมายอาญา ภาษาอังกฤษสำหรับนักกฏหมาย
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวณวีร์พัช บุญโสภา คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
ประสบการณ์ : ผู้ช่วยเลขานุการศูนย์เผยแพร่ฯ
ความเชี่ยวชาญ :
เลขานุการ

หลักการและเหตุผล
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีได้รับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ให้จัดตั้งเป็นคณะนิติศาสตร์ เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2548 เป็นหน่วยงานการศึกษาที่ผลิตบัณฑิตเพื่อการรองรับการพัฒนาประเทศ คณะนิติศาสตร์จัดให้มีการเรียนการสอนในหลักสูตรระดับปริญญาตรี มีการผลิตผลงานวิจัยและการบริการวิชาการแก่สังคมอย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นด้านกฎหมายเป็นหลัก และปัจจุบันมีการจัดแบ่งกลุ่มสาขาวิชาทางการบริหารและการพัฒนา 5 กลุ่มสาขาวิชา ได้แก่ กลุ่มวิชากฎหมายมหาชน กลุ่มวิชากฎหมายเอกชนและธุรกิจ กลุ่มวิชากฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม กลุ่มวิชากฎหมายระหว่างประเทศ กลุ่มวิชานิติพัฒนบูรณาการศาสตร์ การประชุมทางวิชาการระดับชาติเนื่องในโอกาสมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ครบรอบ 27 ปี คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ครั้งที่ 1 ถือเป็นกิจกรรมทางวิชาการเพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการของคณาจารย์ นักวิชาการ ทั้งภายในและภายนอกสถาบัน เพื่อเป็นเวทีให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการ และนำเสนอผลงานการศึกษาของงานวิจัยในช่วงที่ผ่านมาที่จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ ในการประชุมทางวิชาการดังกล่าวฯ คณะนิติศาสตร์จะจัดการประชุมโดยมีกิจกรรมหลัก ได้แก่ การปาฐกถาพิเศษ การอภิปรายทางวิชาการ การนำเสนอผลงานทางวิชาการของคณาจารย์และนักวิชาการจากภายในและภายนอกใน 5 กลุ่มสาขาวิชา และเปิดเวทีสำหรับคณาจารย์และนักวิชาการในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทางวิชาการในการประชุมครั้งนี้ด้วย อันจะเป็นการเผยแพร่ชื่อเสียงของคณะนิติศาสตร์ และร่วมเฉลิมฉลองในโอกาสที่มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ครบรอบ 27 ปี อีกทางหนึ่งด้วย

วัตถุประสงค์
1.1. เพื่อส่งเสริมให้มีการผลิตงานวิจัยและเผยแพร่ผลงานวิจัยในด้านต่างๆ ของคณะนิติศาสตร์ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอน และการบริหารเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศ
2.2. เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาผลงานทางวิชาการของคณาจารย์ของคณะนิติศาสตร์ และเผยแพร่ผลงานวิชาการทางด้านกฎหมายในกลุ่มสาขาวิชาของคณาจารย์ของคณะนิติศาสตร์ ให้เป็นที่ประจักษ์ต่อสาธารณะ โดยการจัดเวทีให้มีการนำเสนอผลงานวิชาการ
3.3. สร้างบรรยากาศทางวิชาการ และเป็นโอกาสอันดีที่นักวิชาการจากสถาบันต่างๆ ได้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น รู้จัก และมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
1. คณาจารย์จากคณะนิติศาสตร์ทั่วประเทศ 50 คน 2. ผู้บริหาร สมาชิกสภาและเจ้าหน้าที่ขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธรและอำนาจเจริญ 50 คน 3. ผู้นำชุมชน 30 คน 4. นักวิชาการ/นักวิจัย 30 คน 5. นักศึกษาปริญญาตรี 180 คน 6. นักศึกษาปริญญาโท/ปริญญาเอก 30 คน 7. ประชาชนทั่วไป 30 คน
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
400 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. เตรียมข้อมูลการจัดกิจกรรม 2. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. จัดกิจกรรม 4. สรุปการจัดกิจกรรม

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2558
2559
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.ประชุมและเตรียมข้อมูลการจัดกิจกรรม -- --- --- 3,000.00
2.ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง -- - --- --- 12,000.00
3.จัดกิจกรรม --- -- --- --- 335,000.00
4.สรุปการจัดกิจกรรม --- --- --- 0.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2559 - 24 มิถุนายน พ.ศ. 2559 รวมเวลา 1 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
21 มีนาคม พ.ศ. 2559
09.15-0945 ปาฐกถา “รัฐธรรมนูญกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น” องค์ปาฐกถาภายนอก
21 มีนาคม พ.ศ. 2559
09.45 - 12.15 อภิปราย “81 ปี การปกครองท้องถิ่นไทย: ประชาชนได้อะไร?” ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกและอาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์
21 มีนาคม พ.ศ. 2559
13.15 - 16.15 นำเสนอผลงานทางวิชาการแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 กฎหมายกับการพัฒนาท้องถิ่น กลุ่มที่ ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกและอาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : 1. ทำให้เกิดการส่งเสริมให้มีการผลิตงานวิจัยและเผยแพร่ผลงานวิจัยในด้านต่างๆ ของคณะนิติศาสตร์ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอน และการบริหารเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศ
ด้านสังคม : 2. ทำให้เกิดการพัฒนาผลงานทางวิชาการของคณาจารย์ของคณะนิติศาสตร์ และเผยแพร่ผลงานวิชาการทางด้านกฎหมายในกลุ่มสาขาวิชาของคณาจารย์ของคณะนิติศาสตร์ ให้เป็นที่ประจักษ์ต่อสาธารณะ โดยการจัดเวทีให้มีการนำเสนอผลงานวิชาการ
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
450
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา กลุ่มวิชากฎหมายมหาชน กลุ่มวิชากฎหมายเอกชนและธุรกิจ กลุ่มวิชากฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม กลุ่มวิชากฎหมายระหว่างประเทศ กลุ่มวิชานิติพัฒนบูรณาการศาสตร
หลักสูตร นิติศาสตร์บัณฑิต
นักศึกษาชั้นปี : 1-4
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน นักศึกษาได้รับความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 77,600.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 75,600.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 64,800.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 1,200.00 บาท x จำนวน 9 คน
=
64,800.00 บาท
-วิทยากรภายใน ( รวม 10,800.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
10,800.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 2,000.00 บาท )
1) ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงานจำนวน 10 คน x จำนวน 1 ชม. x จำนวน 200.00 บาท/ชม.
=
2,000.00 บาท

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 186,400.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 39,600.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 30,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 ครั้ง x จำนวน 5 คน x ครั้งละ 6,000.00 บาท
=
30,000.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 9,600.00 บาท )
1) จำนวน 2 คืน x จำนวน 4 ห้อง x ห้องละ 1,200.00 บาท
=
9,600.00 บาท
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 40,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 400 คน
=
40,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 80,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 200.00 บาท x จำนวน 400 คน
=
80,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 3,600.00 บาท )
- จำนวน 2 คัน x จำนวน 1 วัน x ราคา 1,800 บาท/คัน/วัน
=
3,600.00 บาท

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 23,200.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาบริการ
=
4,200.00 บาท
2) ค่าผลิดโสตสื่อ
=
3,000.00 บาท
3) ค่าธรรมเนียมซื้อเช็ค
=
16,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 84,500.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 29,500.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
5,000 แผ่น x 0.50 บาท
=
2,500.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
15,000.00 บาท
=
15,000.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
10,000.00 บาท
=
10,000.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
0 คน x 0.00 บาท
=
0.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
2,000.00 บาท
=
2,000.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 55,000.00 บาท )
1) วัสดุทุกประเภท
=
10,000.00 บาท
2) วัสดุวารสารและตำรา
=
45,000.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 1,500.00 บาท )
1) ค่าแสตมป์
จำนวน 500 ดวง x ดวงละ 3 บาท
=
1,500.00 บาท
2) ค่าสาธารณูปโภค
จำนวน 0 บาท
=
0.00 บาท

งบประมาณทั้งสิ้น 350,000.00 บาท