แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2559
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ สัปดาห์วิทยาศาสตร์ “เปิดโลกการเรียนรู้ สู่ร่างอาจารย์ใหญ่ ครั้งที่ 7”
ลักษณะโครงการ การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : เสริมสร้างความเข้มแข็งของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตพื้นที่เป้าหมาย เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของเด็ก เยาวชนและชุมชน
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งหรือการเรียนรู้แก่ชุมชน / สังคม / กลุ่มวิชาชีพ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
ผศ.ดร.มารุตพงศ์ ปัญญา คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : จุลชีววิทยาทางการแพทย์
ประสบการณ์ : โครงการบริการวิชาการบ้านหนองใหญ่ ตำบลรุง อำเถอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ
ความเชี่ยวชาญ : จุลชีววิทยาทางการแพทย์
หัวหน้าโครงการ
นายพลากร สืบสำราญ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : วิทยาการระบาด
ประสบการณ์ : หัวหน้าโครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม 1 โครงการ ผู้ร่วมโครงการบริการวิชาการ หัวหน้าโครงการวิจัย 1 โครงการ
ความเชี่ยวชาญ : การพัฒนาสุขภาพชุมชน การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรคในชุมชน ระบาดวิทยา ชีวสถิติ
ผู้ร่วมโครงการ
นางทักษิณ พิมพ์ภักดิ์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต
ประสบการณ์ : 1.ผู้ร่วมโครงการ/เหรัญญิก โครงการ การอบรมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อมูลสำหรับบุคลากรสาธารณสุข (ครั้งที่ 2) ปี 2555 2.ผู้ร่วมโครงการ/เลขานุการ โครงการหมออาสาเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ ตำบลเมืองศรีไค ปี 2555 3.ผู้ร่วมโครงการ/เลขานุการ โครงการหมออาสาเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ ตำบลเมืองศรีไค ปี 2556 4.ผู้ร่วมโครงการ โครงการบูรณาการความรู้ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อมสู่ชุมชน ปี 2556 5.ผู้ร่วมโครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม 2556
ความเชี่ยวชาญ : การวิจัยเชิงปริมาณ การบริหารจัดการข้อมูล
ผู้ร่วมโครงการ
นางพัจนภา ธานี คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต พิษวิทยาทางอาหารและโภชนาการ
ประสบการณ์ : ร่วมโครงการสัปดาห์วิทยาศาสตร์ เปิดโลกการเรียนรู้ สู่ร่างอาจารย์ใหญ่ งบประมาณ 2556 ผู้ร่วมโครงการบริการวิชาการแก่สังคมปีงบประมาณ 2555-2557 หัวหน้าโครงการวิจัยทางด้านโภชนการชุมชน ทุนวิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข ปี 2555
ความเชี่ยวชาญ : -อาหารและโภชนาการชุมชน -พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จัดการเรียนการสอนในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต และวิทยศาสตรบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) มาตั้งแต่ปีการศึกษา 2549 มีการบูรณาการความรู้สาขาวิชาต่างๆ ในการผลิตบัณฑิต ทางวิทยาลัยฯ ได้พัฒนาการเรียนการสอนโดยให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากการจัดประสบการณ์ในการดำเนินกิจกรรมทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข ได้พัฒนารูปแบบการเรียนการสอน สื่อการเรียนการสอนทางวิทยาศาสตร์การแพทย์เพื่อเสริมสร้างความรู้และเพิ่มทักษะในการทำปฏิบัติการ ได้แก่ หุ่นจำลอง วีดีโอ ภาพเคลื่อนไหว โปสเตอร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งร่างดองมนุษย์ ที่ทุกคนขนานนามท่านว่า “อาจารย์ใหญ่ หรือ ครูใหญ่” การศึกษาด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเรียนรู้ลักษณะโครงสร้างของมนุษย์จริง โดยการทำปฏิบัติการทางมหกายวิภาคศาสตร์จากร่างของอาจารย์ใหญ่ครูผู้อุทิศร่างกายเพื่อเป็นวิทยาทานทางการศึกษา ซึ่งทางวิทยาลัยฯ ได้จัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับมหกายวิภาคศาสตร์สำหรับนักศึกษาแพทย์ และนักศึกษาสาธารณสุข อีกทั้งได้บริการวิชาการแก่นักศึกษาสาขาต่างๆ ของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ได้แก่ สาขาพยาบาลศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเภสัชศาสตร์ ตลอดจนบริการวิชาการแก่สถาบันการศึกษาอื่นในเขตอีสานใต้ องค์ความรู้และคุณงามความดีจากร่างอาจารย์ใหญ่ได้เผยแพร่และเป็นที่เคารพของบุคคลทั่วไปอย่างมาก วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข จึงได้เล็งเห็นความสำคัญในการเผยแพร่ กระบวนการเรียนการสอน ผลงานอาจารย์และนักศึกษาของวิทยาลัยฯ และเห็นความสำคัญในการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาจึงจัดโครงการบริการวิชาการ สัปดาห์วิทยาศาสตร์ “เปิดโลกการเรียนรู้สู่ร่างอาจารย์ใหญ่ ครั้งที่ 7” เพื่อเป็นการบริการความรู้ทางด้านสุขภาพแก่นักเรียนและบุคคลทั่วไปที่สนใจ โดยวิทยาลัยฯ ได้จัดโครงการขึ้นเป็นครั้งแรกในปีงบประมาณ 2553 ซึ่งได้จัดในสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ 17-18 สิงหาคม 2553 และมีการจัดกิจกรรมต่อเนื่องในทุก ๆ ปีงบประมาณ ผลการดำเนินโครงการ บรรลุตามเป้าหมายทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ซึ่งวิทยาลัยฯ มีเป้าหมายในการดำเนินโครงการสืบต่อไปเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้สู่สังคม และเป็นการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาให้ร่วมกันทำงานเป็นทีมเพื่อเป็นประสบการณ์ในการทำงานต่อไปในอนาคต

วัตถุประสงค์
1.เพื่อเผยแพร่ความรู้ การแสดงนิทรรศการ และผลงานต่างๆ แก่นักเรียน นักศึกษาและอาจารย์
2.เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษา มีการทำงานร่วมกัน และสร้างประสบการณ์ทำงานนอกห้องเรียน

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
นักเรียน นักศึกษา อาจารย์และบุคลภายนอกวิทยาลัยแพทยศาสตร์ และการสาธารณสุข
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
1000 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1.ประชุมผู้รับผิดชอบโครงการและวางแผนการดำเนินกิจกรรมโครงการ 2. แต่งตั้งคณะกรรมการและอนุกรรมการดำเนินงานโครงการ 3. ประชาสัมพันธ์โครงการแก่หน่วยงานภายนอก เช่น สถาบันการศึกษาและโรงเรียนเครือข่ายมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 4 .จัดเตรียมงานและกิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการ 5. จัดกิจกรรมตามโครงการ 6. ประเมินผลและรายงานผลการจัดกิจกรรมโครงการ

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2558
2559
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.ประชุมผู้รับผิดชอบโครงการเพื่อวางแผนการดำเนินงาน --- --- - --- 2,000.00
2.แต่งตั้งคณะกรรมการและอนุกรรมการดำเนินงาน --- --- - --- 0.00
3.ประชาสัมพันธ์โครงการแก่บุคลากรและนักศึกษาภายในวิทยาลัยฯ --- --- -- -- 2,000.00
4.ประชาสัมพันธ์โครงการแก่นักเรียน นักศึกษา อาจารย์และบุคคลภายนอกวิทยาลัยฯ --- --- -- -- 2,000.00
5.ติดตามความก้าวหน้าของการเตรียมงาน --- --- -- - 10,000.00
6.การจัดเตรียมงานและการจัดกิจกรรม --- --- --- - 10,000.00
7.การจัดงานและเปิดโครงการในวันวิทยาศาสตร์ --- --- --- -- 11,300.00
8.การประเมินผลการดำเนินงาน --- --- --- - 2,000.00
9.รายงานผลการดำเนินงาน --- --- --- - 2,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 - 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 รวมเวลา 2 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
18 สิงหาคม พ.ศ. 2559
09.00-16.00 ปิดเข้าชมนิทรรศการและกิจกรรมต่างๆ 1. กิจกรรม “สัมผัสร่างอาจารย์ใหญ่” 2. กิจกรรมการแข่งขันทางวิชา -
19 สิงหาคม พ.ศ. 2559
09.00-16.00 ปิดเข้าชมนิทรรศการและกิจกรรมต่างๆ 1. กิจกรรม “สัมผัสร่างอาจารย์ใหญ่” 2. กิจกรรมการแข่งขันทางวิชา -

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : -
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : 1.นักเรียน นักศึกษาได้มีประสบการณ์ในการเรียนรู้นอกชั้นเรียนเพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาต่อในอนาคต 2.นักเรียน นักศึกษา และผู้สนใจได้รับข้อมูลสุขภาพเบื้องต้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการดูแลสุขภาพของตนเอง

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
1000
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา วิชา 1902 204 สุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ และ 1902 202 กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
หลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์)
นักศึกษาชั้นปี : 2
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด นักศึกษาร้อยละ 100 มีส่วนร่วมในการให้บริการวิชาการ
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 4,000.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 4,000.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 4,000.00 บาท )
1) จำนวน 4 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 5 คน
=
4,000.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 96,000.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 48,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 80.00 บาท x จำนวน 300 คน
=
48,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 3,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 คน x จำนวน 3 เดือน x เดือนละ 1,000.00 บาท
=
3,000.00 บาท

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 45,000.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาจัดนิทรรศการ
=
10,000.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมาของรางวัลการประกวด/แข่งขันทุกประเภท
=
13,000.00 บาท
3) ค่าจ้างเหมาจัดทำของที่ระลึก
=
20,000.00 บาท
4) ค่าจ้างเหมาทำความสะอาด
=
1,000.00 บาท
5) ค่าจ้างเหมาเต็นท์ผ้าใบ
=
1,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 20,000.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 20,000.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
10,000 แผ่น x 0.50 บาท
=
5,000.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
10,000.00 บาท
=
10,000.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
5,000.00 บาท
=
5,000.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
0 คน x 0.00 บาท
=
0.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 120,000.00 บาท