แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2559
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ มหกรรมวิชาการสายสังคมศาสตร์
ลักษณะโครงการ การประชุมวิชาการ สัมมนาเชิงวิชาการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : พัฒนาระบบและกลไกการบริหารงานบริการวิชาการให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดการบูรณาการกับการวิจัยและการเรียนการสอน
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งหรือการเรียนรู้แก่ชุมชน / สังคม / กลุ่มวิชาชีพ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
ดร.อรทัย เลียงจินดาถาวร คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : รัฐประศาสนศาสตร์
ประสบการณ์ : "ด้านการสอน 10 ปี ด้านการวิจัยและการบริการวิชาการ 10 ปี ด้านการบริหาร: รองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา รองคณบดีฝ่ายวิชาการ (ปัจจุบัน) "
ความเชี่ยวชาญ : "การบริหารโครงการ การวางแผนฯ ธรรมาภิบาล นโยบายสาธารณะ การจัดการภัยพิบัติ และงานวิจัยรับใช้สังคม"
หัวหน้าโครงการ
นางสาวบุญทิวา พ่วงกลัด คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ : ภาษาอังกฤษ
ผู้ร่วมโครงการ
ดร.อรุณี สัณฐิติวณิชย์ คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : รัฐประศาสนศาสตร์
ประสบการณ์ : หัวหน้าสาขารัฐประศาสนศาสตร์
ความเชี่ยวชาญ : การบริหารงานภาครัฐ
ผู้ร่วมโครงการ
ดร.ณรุจน์ วศินปิยมงคล คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : PhD (Politics)
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ : ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาววิภาพรรณ ตระกูลสันติรัตน์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : การจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
ประสบการณ์ : สอน วิจัย บริการวิชาการ งานบริหาร: รองคณบดีฝ่ายวิชาการ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายพัฒนาหลักสูตร รองคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพ วิจัย และบริการวิชาการ (ปัจจุบัน)
ความเชี่ยวชาญ : HRM, HRD, HR, Recruitment & Selection Organization Management Operation Management Public Service Motivation
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวรจนา คำดีเกิด คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : รัฐประศาสนศาสตร์
ประสบการณ์ : รองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา
ความเชี่ยวชาญ : การปกครองท้องถิ่น
เลขานุการ

หลักการและเหตุผล
การเรียนการสอนในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์นั้น ถือเป็นส่วนสำคัญในการสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ศึกษา ซึ่งไม่เพียงแต่ให้สามารถเอาตัวรอดและใช้ชีวิตในสังคมที่สลับซับซ้อนได้เท่านั้น แต่ยังมีปรัชญาในการส่งเสริมพลเมืองให้สามารถดำรงตนอยู่ในสังคมได้อย่างดีอีกด้วย แต่เนื่องด้วยธรรมชาติของศาสตร์ในสาขานี้ไม่อาจก่อให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจอย่างเป็นรูปธรรม จึงมักจะถูกละเลยจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งรวมถึงสัดส่วนด้านงบประมาณที่มีจำนวนจำกัด สำหรับมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เป็นสถาบันการศึกษาที่เปิดดำเนินการเพื่อรับใช้สังคมเป็นเวลานาน และมีการจัดการเรียนการสอนในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ 5 คณะ ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะศิลปะประยุกต์และการออกแบบ คณะบริหารศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ และคณะรัฐศาสตร์ ซึ่งทุกคณะมีรูปแบบ เทคนิค และวิธีการจัดการเรียนการสอนที่ได้มาตรฐาน มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เห็นได้จากคุณภาพของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานของนักศึกษาในสาขาวิชาสังคมศาสตร์จึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะนอกจากจะเป็นการให้ความรู้แก่นักเรียนในโรงเรียนเครือข่ายของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีแล้ว ยังส่งผลให้เกิดเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสังคมศาสตร์จากบุคลากรการศึกษาของทั้ง 5 คณะ อีกทั้งยังเป็นการสร้างความเข้มแข็งเชิงวิชาการในสายสังคมศาสตร์ในนามของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีอย่างยั่งยืนต่อไปด้วย

วัตถุประสงค์
1.เพื่อส่งเสริมความรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์แก่อาจารย์ นักวิชากร นักศึกษา และผู้สนใจจากเครือข่ายสังคมศาสตร์ทั่วประเทศ
2.เพื่อส่งเสริมความรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์แก่นักเรียนในโรงเรียนเครือข่ายของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีและโรงเรียนทั่วไป
3.เพื่อสร้างเครือข่ายและส่งเสริมความเข้มแข็งเชิงวิชาการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ทั่วประเทศ

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
นักเรียนในโรงเรียนเครือข่ายของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และโรงเรียนทั่วไป และนักวิชาการ นักศึกษาจากเครือข่ายสังคมศาสตร์ทั่วประเทศ
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
500 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1.การเสวนาทางวิชาการ 2.กิจกรรมนำเสนอผลงานของนักศึกษาสายสังคมศาสตร์ ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะบริหารศาสตร์ คณะศิลปประยุกต์และการออกแบบ และคณะรัฐศาสตร์ 3.กิจกรรมแข่งขันการตอบปัญหาวิชาการทางสังคมศาสตร์ 4.การประกวดนิทรรศการสาขาวิชาสังคมศาสตร์ 5.การประกวดวาดภาพทางสังคมศาสตร์

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2558
2559
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.กำหนดรูปแบบงานและกิจกรรมในแต่ละช่วง (plan) -- --- --- --- 2,000.00
2.กำหนดหัวข้อหลัก(Theme)ในการจัดงาน (plan) -- --- --- --- 5,000.00
3.เตรียมความพร้อมการจัดนิทรรศการ (do) -- --- --- --- 5,000.00
4.เตรียมความพร้อมกิจกรรมการตอบปัญหาวาดภาพ และนิทรรศการวิชาการ (do) -- --- --- --- 5,000.00
5.เตรียมความพร้อมกิจกรรมนำเสนอผลงานวิชาการ (do) -- --- --- --- 30,000.00
6.ประชาสัมพันธ์งาน (do) -- --- --- --- 20,000.00
7.สรุปและประเมินผลการดำเนินงาน รอบที่ 1 (check) -- --- --- --- 2,000.00
8.ดำเนินกิจกรรมตามรูปแบบที่กำหนดไว้ (act) --- -- --- --- 500,000.00
9.ประเมินผลการดำเนินงาน รอบที่ 2 (check) --- -- --- --- 2,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 รวมเวลา 1 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
08.30-09.00 ลงทะเบียน
25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
09.00-09.15 พิธีเปิดโดยอธิการบดีมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
09.15-12.00 กิจกรรมเสวนาทางวิชาการทางสังคมศาสตร์
25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
9.30-16.00 กิจกรรมนำเสนอผลงานวิชาการ กิจกรรมการประกวดนิทรรศการ กิจกรรมการประกวดวาดภาพ กิจกรรมการแข่งขันตอบปัญหา
25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
16.00-16.30 พิธีมอบรางวัลจากการแข่งขันทุกกิจกรรม
25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
16.30-16.45 น พิธีปิด

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : -1.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ 2.เกิดการสร้างเครือข่ายและส่งเสริมความเข้มแข็งเชิงวิชาการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ทั่วประเทศ
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
500
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์
หลักสูตร รัฐศาสตรบัณฑิตและรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
นักศึกษาชั้นปี : 4
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ร้อยละของนักศึกษาที่ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น / สามารถสอบผ่านในรายวิชา
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด ร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ จำนวนโครงการวิจัยของนักศึกษาที่ได้จากการบริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 81,700.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 16,200.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 10,800.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 1,200.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
10,800.00 บาท
-วิทยากรภายใน ( รวม 5,400.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
5,400.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 7,500.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 7,500.00 บาท )
1) จำนวน 5 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 10 คน
=
7,500.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 58,000.00 บาท )
1) ค่าตอบแทนกรรมการแข่งขันตอบปัญหาวิชาการทางสังคมศาสตร์จำนวน 10 คน x จำนวน 1 ชม. x จำนวน 1,000.00 บาท/ชม.
=
10,000.00 บาท
2) ค่าตอบแทนกรรมการแข่งขันวาดภาพจำนวน 3 คน x จำนวน 1 ชม. x จำนวน 1,000.00 บาท/ชม.
=
3,000.00 บาท
3) ค่าตอบแทนกรรมการแข่งขันนิทรรศการจำนวน 5 คน x จำนวน 1 ชม. x จำนวน 1,000.00 บาท/ชม.
=
5,000.00 บาท
4) ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิวิจารณ์ผลงาน/บทความจำนวน 20 คน x จำนวน 1 ชม. x จำนวน 2,000.00 บาท/ชม.
=
40,000.00 บาท

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 218,000.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 25,000.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 15,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 ครั้ง x จำนวน 3 คน x ครั้งละ 5,000.00 บาท
=
15,000.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 10,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 คืน x จำนวน 10 ห้อง x ห้องละ 1,000.00 บาท
=
10,000.00 บาท
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 50,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 500 คน
=
50,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 30,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 60.00 บาท x จำนวน 500 คน
=
30,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 30,000.00 บาท )
- จำนวน 30 คัน x จำนวน 1 วัน x ราคา 1,000 บาท/คัน/วัน
=
30,000.00 บาท

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 83,000.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาบริการจัดทำวิดีโอ
=
5,000.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมาแรงงาน
=
15,000.00 บาท
3) ค่าจ้างเหมาทำความสะอาด
=
5,000.00 บาท
4) เงินรางวัลกิจกรรมตอบปัญหา
=
12,000.00 บาท
5) เงินรางวัลกิจกรรมประกวดนิทรรศการ
=
10,000.00 บาท
6) เงินรางวัลกิจกรรมประกวดวาดภาพ
=
10,000.00 บาท
7) ค่าจ้างเหมาจัดนิทรรศการ
=
20,000.00 บาท
8) ค่าจ้างเหมาประมวลผลแบบสอบถามโครงการ
=
3,000.00 บาท
9) ค่าจ้างเหมาจัดทำรูปเล่มรายงาน
=
3,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 90,000.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 90,000.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
80,000 แผ่น x 0.50 บาท
=
40,000.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
20,000.00 บาท
=
20,000.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
20,000.00 บาท
=
20,000.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
0 คน x 0.00 บาท
=
0.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
10,000.00 บาท
=
10,000.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 11,500.00 บาท )
1) ค่าแสตมป์
จำนวน 500 ดวง x ดวงละ 3 บาท
=
1,500.00 บาท
2) ค่าสาธารณูปโภค
จำนวน 10000 บาท
=
10,000.00 บาท

งบประมาณทั้งสิ้น 401,200.00 บาท