แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2559
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ ประชุมวิชาการ เรื่อง โครงการพัฒนาเครือข่ายเภสัชกรและบุคลากรทางสาธารณสุขภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ลักษณะโครงการ การประชุมวิชาการ สัมมนาเชิงวิชาการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับชุมชน หน่วยงานของรัฐ ตลอดจนภาคธุรกิจอุตสาหกรรม เพื่อการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างสุขภาพอนามัยสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายพีรวัฒน์ จินาทองไทย คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : เภสัชบำบัด
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
หัวหน้าโครงการ

หลักการและเหตุผล
เภสัชกร เป็นบุคลากรในทีมสุขภาพที่สำคัญที่ให้บริการความรู้ด้านยา หรือเภสัชบำบัดแก่บุคลากรทางสาธารณสุข และประชาชนทั่วไปปัจจุบันความรู้ทางด้านเภสัชกรรม ทั้งทางด้านเภสัชภัณฑ์และการบริบาลทางเภสัชกรรมมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาและวิชาชีพเภสัชกรรรมนั้น เป็นวิชาชีพที่มีบทบาทหลากหลาย และจำเป็นต้องใช้ความรู้จากหลายส่วนในการปฏิบัติหน้าที่ ทั้งบทบาทในเชิงวิชาการ บทบาทเชิงสังคม ทักษะในการนำเสนอ และจริยธรรมในการประกอบวิชาชีพดังนั้นการเพิ่มเติมศักยภาพในด้านต่างๆ ของเภสัชกรให้มีความรู้ใหม่ ๆ เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือนอกจากจะมีภารกิจหลักในการผลิตบัณฑิตสาขาวิชาเภสัชศาสตร์ทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอกแล้วคณะเภสัชศาสตร์มีภารกิจในการให้บริการด้านวิชาการแก่ชุมชนอีกด้วย คณะเภสัชศาสตร์ จึงจัดทำโครงการประชุมวิชาการเครือข่ายเภสัชกรภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น เพื่อเป็นการเพิ่มพูนความรู้ด้านความก้าวหน้าทางเภสัชกรรมแก่เภสัชกร รวมทั้งบุคลากรทางสาธารณสุขในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทั้งในองค์ความรู้ด้านเภสัชบำบัด เภสัชภัณฑ์ การแพทย์ทางเลือก และผลของการเปลี่ยนแปลงระบบสุขภาพต่อบุคลากรทางสาธารณสุข และเป็นเวทีวิชาการสำหรับเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ แลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูลข่าวสารจากเภสัชกรที่ปฏิบัติงานในสาขาต่างๆ เพื่อให้สามารถนำไปใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ให้ดียิ่งขึ้นอันจะส่งผลดีต่อสุขภาพของประชาชนในอนาคต

วัตถุประสงค์
1.1. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ด้านความก้าวหน้าทางวิชาการทางเภสัชกรรมแก่เภสัชกร และบุคลากรทางสาธารณาสุขในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ให้ดียิ่งขึ้น
2. 2. เพื่อเป็นเวทีวิชาการที่เปิดโอกาสให้เภสัชกร นักวิทยาศาสตร์ และบุคลากรทางสาธารณสุขได้เผยแพร่ผลงานวิชาการ ตลอดจนแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ที่สามารถนำไปใช้ในการให้บริการแก่ประชาชนทั่วไป
3. 3. เพื่อกระตุ้นให้เภสัชกรมีความตระหนักในจรรยาบรรณวิชาชีพ
4. 4. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาเครือข่ายทางวิชาการสำหรับเภสัชกร และบุคลากรทางสาธารณสุข เป็นผลให้เกิดการประสานงานกิจกรรมเชิงวิชาชีพที่มีประสิทธิภาพเช่น การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ และ กิจกรรมสัปดาห์เภสัชกรรม
5. 5. เพื่อพัฒนาเภสัชกรให้มีความรู้อย่างต่อเนื่อง โดยคิดเป็นหน่วยกิตการศึกษาต่อเนื่อง (CE)
6. 6. เพื่อเผยแพร่ชื่อเสียงและบทบาทของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
ศิษย์เก่าคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เภสัชกรในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และบุคลากรทางการแพทย์ผู้สนใจ
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
120 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
a. เสนอขอรับการจัดสรรงบประมาณเดือนตุลาคม2555 b. เตรียมการจัดประชุมวิชาการ - ดำเนินการจัดประชุมคณะทำงานเดือนกุมภาพันธ์ 2557 - ติดต่อวิทยากร เดือนกุมภาพันธ์ 2557 - ประชาสัมพันธ์ศิษย์เก่า เภสัชกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและบุคลากรทางการแพทย์ เข้าร่วมการประชุมวิชาการกลุ่มเป้าหมายจำนวน 120 คนเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม 2558 - ประสานงานวิทยากร ผู้เข้าร่วมประชุม ที่พัก เอกสารประกอบการประชุม บทคัดย่อการนำเสนอผลงานแบบปากเปล่าและแบบโปสเตอร์เดือนมีนาคม 2558 - เตรียมสถานที่ และเอกสารประกอบการประชุมเดือนเมษายน2558 c. จัดประชุมวิชาการในช่วงเดือน มิถุนายน-กรกฎาคม2558 โดยรูปแบบการจัดงานประชุมวิชาการประกอบด้วย - การบรรยายทางวิชาการ - การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์การทำงานในวิชาชีพเภสัชกรรม - การนำเสนอผลงานทางวิชาการ ในรูปแบบปากเปล่าและแบบโปสเตอร์ - กิจกรรมพบปะสังสรรค์เชื่อมสัมพันธ์น้องพี่เภสัชอีสานใต้และการมอบรางวัลแหล่งฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพดีเด่น

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2558
2559
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.1. เสนอขอรับการจัดสรรงบประมาณ และแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน - --- --- --- 0.00
2.1. เสนอขอรับการจัดสรรงบประมาณ และแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน -- --- --- 0.00
3.3. กำหนดหัวข้อบรรยายทางวิชาการและประสานงานกับวิทยากร --- -- --- --- 0.00
4.4. จัดทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์โครงการแก่กลุ่มเป้าหมาย - ศิษย์เก่า เภสัชกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และผู้สนใจเข้าร่วมประชุมวิชาการ - ผู้สนใจเข้าร่วมนำเส --- -- --- --- 10,000.00
5.5. ส่งเอกสารประชาสัมพันธ์โครงการให้ศิษย์เก่าและกลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือและ ประชาสัมพันธ์การประชุมวิชาการผ่านเว็บไซต์มหาว --- -- - --- 5,000.00
6.6. กำหนดวันสิ้นสุดการลงทะเบียนและส่งบทคัดย่อการนำเสนอผลงานทางวิชาการแบบปากเปล่าและโปสเตอร์ --- --- -- --- 0.00
7.7. จัดพิมพ์รูปเล่มเอกสารประกอบการบรรยายทางวิชาการ และบทคัดย่อการนำเสนอผลงานทางวิชาการแบบปากเปล่าและแบบโปสเตอร์ --- --- -- --- 35,000.00
8.8. ประสานงานเรื่องสถานที่จัดกิจกรรมและการเดินทางของวิทยากร --- --- - --- 0.00
9.9. จัดประชุมวิชาการ ระยะเวลา 1 วัน - การบรรยายทางวิชาการ - การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์การทำงานในวิชาชีพเภสัชกรรม - การนำเสนอผลงานทางวิชาการ ใ --- --- -- -- 70,000.00
10.10. ประเมินผลการดำเนินงาน --- --- --- -- 0.00
11.11. สรุปผลการดำเนินงาน --- --- --- 0.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 - 30 กันยายน พ.ศ. 2559 รวมเวลา 366 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ :
ด้านสังคม : 1. เภสัชกรและผู้เข้าร่วมประชุมได้รับความรู้ ด้านความก้าวหน้าทางวิชาการทางเภสัชกรรมเพื่อใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ให้ดียิ่งขึ้น 2. เภสัชกรและผู้เข้าร่วมประชุมได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ที่สามารถนำไปใช้ในการให้บริการแก่ประชาชนทั่วไป และเกิดการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ 3. เภสัชกรผู้เข้าร่วมประชุมตระหนักในจรรยาบรรณวิชาชีพ 4. เกิดเครือข่ายทางวิชาการสำหรับเภสัชกรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5. การประสานงานกิจกรรมเชิงวิชาชีพเป็นไปอย่างประสิทธิภาพ เช่น การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ และกิจกรรมสัปดาห์เภสัชกรรม 6. เภสัชกรผู้เข้าร่วมประชุม ได้รับหน่วยกิตการศึกษาต่อเนื่อง (CE)
ด้านสิ่งแวดล้อม :
ด้านอื่นๆ :

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
70
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-ไม่มีข้อมูล

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา เภสัชจุลชีววิทยา, เภสัชวิทยา 1 และ/หรือ2 วิทยา 2
หลักสูตร เภสัชศาสตร์
นักศึกษาชั้นปี : 2-3
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 23,100.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 14,400.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 4,800.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 2 ชม. x ชม.ละ 1,200.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
4,800.00 บาท
-วิทยากรภายใน ( รวม 9,600.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 4 คน
=
9,600.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 8,700.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 1,500.00 บาท )
1) จำนวน 5 วัน x จำนวน 2 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
1,500.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 7,200.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 10 คน
=
7,200.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 85,000.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 25,200.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 14,400.00 บาท )
1) จำนวน 2 ครั้ง x จำนวน 3 คน x ครั้งละ 2,400.00 บาท
=
14,400.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 3,600.00 บาท )
1) จำนวน 1 คืน x จำนวน 3 ห้อง x ห้องละ 1,200.00 บาท
=
3,600.00 บาท
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 7,200.00 บาท )
1) จำนวน 3 วัน x จำนวน 10 วัน x วันละ 240.00 บาท
=
7,200.00 บาท

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 24,000.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 120 คน
=
24,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 28,800.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 120.00 บาท x จำนวน 120 คน
=
28,800.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 7,000.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการประชุม
=
7,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 8,000.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 8,000.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
0 แผ่น x 0.50 บาท
=
0.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
5,000.00 บาท
=
5,000.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
3,000.00 บาท
=
3,000.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
0 คน x 0.00 บาท
=
0.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 3,900.00 บาท )
1) ค่าแสตมป์
จำนวน 1300 ดวง x ดวงละ 3 บาท
=
3,900.00 บาท
2) ค่าสาธารณูปโภค
จำนวน 0 บาท
=
0.00 บาท

งบประมาณทั้งสิ้น 120,000.00 บาท