แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2559
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ โครงการศึกษาสุขภาวะชุมชนและให้บริการวิชาการโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน (โครงการลูกฮักลูกแพง) ปีที่ 4
ลักษณะโครงการ การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาวะและบริการสุขภาพ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชน
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างสุขภาพอนามัยสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นางยมนา ชนะนิล คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : ครุศาสตรมหาบัณฑิต ( วิจัยและประเมินผลการศึกษา)
ประสบการณ์ : อาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์
ความเชี่ยวชาญ : การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
หัวหน้าโครงการ

หลักการและเหตุผล
ทรัพยากรบุคคลเป็นตัวขับเคลื่อนที่สำคัญในการพัฒนาประเทศ สังคมที่เอื้อต่อการดำเนินชีวิต ก่อให้เกิดความมั่นคงในการดำเนินชีวิตทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจนั้นย่อมทำให้บุคคลมีคุณภาพชีวิตที่ดี การมีสังคมที่เข็มแข็งจึงเป็นกลไกหรือกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ พันธกิจหนึ่งที่สำคัญของสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษาคือ การให้บริการวิชาการแก่สังคม เพื่อส่งเสริมให้สังคมหรือชุมชนเข็มแข็ง การดำเนินโครงการศึกษาสุขภาวะชุมชนและให้บริการวิชาการโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน (โครงการลูกฮักลูกแพง) ซึ่งคณะพยาบาลศาสตร์ได้รับทุนสนับสนุนประจำปีงบประมาณ 2555 - 2557 อย่างต่อเนื่อง ผลการดำเนินโครงการดังกล่าวก่อให้เกิดผลดีทั้งต่อชุมชนและสถาบันการศึกษา ทั้งนี้ชุมชนได้รับการบริการด้านสุขภาพ มีความกระตือรือร้นที่จะพัฒนาสุขภาพของตนเอง กิจกรรมการมอบลูกฮักลูกแพงให้กับครอบครัวอุปถัมภ์ ช่วยพัฒนาคุณลักษณะของนักศึกษาในหลายๆด้านทั้งการนำองค์ความรู้ในห้องเรียนไปใช้ในการดูแลครอบครัวอุปถัมภ์ตามงานที่ได้รับมอบหมายในรายวิชาที่มีการบูรณาการ การสร้างสัมพันธภาพ ความรับผิดชอบ ตลอดจนความสำนึกรักต่อท้องถิ่น และคนในชุมชนรู้สึกถึงการเป็นส่วนหนึ่งในการที่จะช่วยสร้างและผลิตบัณฑิตเพื่อรับใช้สังคมตามความคาดหวังชุมชน และก่อให้เกิดเครือข่ายทางสังคม คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เล็งเห็นคุณค่าความสำคัญดังกล่าว และเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายมหาวิทยาลัย คณะฯจึงได้จัดให้มีโครงการศึกษาสุขภาวะชุมชนและให้บริการวิชาการโดยใช้ชุมชนเป็นฐานขึ้น เพื่อการพัฒนาชุมชนอย่างต่อเนื่องสร้างความเข็มแข็ง ยั่งยืน พัฒนาบัณฑิตที่พึงประสงค์ให้สำนึกรักในท้องถิ่น โดยปีงบประมาณ 2559 มุ่งเน้นที่จะพัฒนาให้เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ด้านสุขภาพ โดยจัดให้รายวิชาในหลักสูตรมีกิจกรรมการบูรณาการโดยชุมชนเป็นฐาน ประกอบด้วยกิจกรรมการมอบครอบครัวอุปถัมภ์ให้นักศึกษาดูแล เยี่ยมบ้านครอบครัวอุปถัมภ์ และกิจกรรมสานสัมพันธ์ครอบครัวอุปถัมภ์ โดยจัดกิจกรรมให้บริการวิชาการด้านสุขภาพเผยแพร่ความรู้ทางด้านวิชาการ จัดกิจกรรมทำความดีเพื่อพ่อในโอกาสวันพ่อแห่งชาติ และ แม่สุขภาพดีในโอกาสวันแม่แห่งชาติ เพื่อให้สืบสานวัฒนธรรมอันดีงามของประชาชนชาวไทย พัฒนาค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ตามนโนบายของรัฐบาล ที่ว่าด้วยความรักต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ เพื่อสานรักสานสัมพันธ์ให้ครอบครัว อันจะทำให้เกิดเครือข่ายชุมชน และสังคมใกล้เคียงเกิดการเรียนรู้ร่วมกันในด้านวิชาการ และยังก่อให้เกิดการพัฒนาในหลายๆส่วนทั้งชุมชนและผู้ร่วมโครงการได้แก่ อาจารย์ นักศึกษาได้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงจากการ บูรณาการการเรียนการสอน นอกจากนี้จะทำให้สามารถพัฒนาโจทย์วิจัยที่สร้างองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนต่อไป

วัตถุประสงค์
1.ให้บริการวิชาการด้านสุขภาพแก่ชุมชน เครือข่าย และสังคมตามพันธกิจขององค์กร และตอบสนองความต้องการของชุมชน
2.พัฒนาแหล่งเรียนรู้และเกิดเป็นชุมชนต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพ โดยใช้รูปแบบครอบครัวอุปถัมภ์ และระบบการเยี่ยมบ้าน
3.บูรณาการโครงการบริการวิชาการแก่สังคม เข้ากับพันธกิจด้านต่างๆ ได้แก่ การจัดการเรียนการสอน การพัฒนานักศึกษา การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และการวิจัย

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
ผู้นำชุมชน ( อสม. กรรมการหมู่บ้าน บุคลากรของหน่วยงาน อบต.) 30 คน ประชาชนในพื้นที่ 400 คน นักศึกษาพยาบาล 168 คน อาจารย์พยาบาลและบุคลากร 30 คน
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
628 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1) วางแผนการดำเนินงาน 2) ขออนุมัติงบประมาณโครงการ 3) ดำเนินการตามกิจกรรมย่อย 4) สรุปและประเมินผลการดำเนินงาน 5) รายงานผลการดำเนินโครงการ

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2558
2559
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.กิจกรรมเครือข่ายดูแลครอบครัวในชุมชน -- --- --- --- 37,650.00
2.กิจกรรมประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมกิจกรรมเยี่ยมบ้านสานรัก นำความรู้สู่การปฏิบัติโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน -- --- --- --- 9,350.00
3.กิจกรรมเทิดไท้องค์ราชัน สานสัมพันธ์พ่อฮักแม่ฮัก -- --- --- --- 30,000.00
4.กิจกรรมการเยี่ยมบ้านสานรัก นำความรู้สู่การปฏิบัติ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน - --- 12,000.00
5.กิจกรรมครอบครัวสัมพันธ์ วันแม่สุขภาพดี --- --- --- -- 30,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 - 30 กันยายน พ.ศ. 2559 รวมเวลา 366 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
30 ตุลาคม พ.ศ. 2558
08.30-16.00 น. กิจกรรมเครือข่ายดูแลครอบครัวในชุมชน นางสาวสุวภัทร นีักรู้กำพลพัฒน์, นางสาวไพลิน พิณทอง, นางยมนา ชนะนิล,นางสาวอุไรวรรณ สาสังข์,นางสาวสุนั
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
08.30 - 13.00 น. ประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมกิจกรรมเยี่ยมบ้านสานรัก นำความรู้สู่การปฏิบัติ นางสาวยมนา ชนะนิล, ผศ. ดร.สงวน ธานี,นางสาวอุไรวรรณ สาสังข์ ,นางสาวธัญทิพย์ คลังชำนาญ
1 ธันวาคม พ.ศ. 2558
พ.ย.2558 - มิ.ย.2559 การเยี่ยมบ้านสานรัก นำความรู้สู่การปฏิบัติโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
4 ธันวาคม พ.ศ. 2558
08.30-16.00 น. เทิดไท้องค์ราชัน สานสัมพันธ์พ่อฮักแม่ฮัก ผศ.ดร.สุรีย์ ธรรมิกบวร, นางสาวสุวภัทร นีักรู้กำพลพัฒน์, นางสาวยมนา ชนะนิล, นางสาวอุไรวรรณ สาสังข์
8 สิงหาคม พ.ศ. 2559
08.30-16.00 น. ครอบครัวสัมพันธ์ วันแม่สุขภาพดี ผศ.ดร.สุรีย์ ธรรมิกบวร, นางยมนา ชนะนิล, นางสาวสุดารักษ์ ประสาร, นางสาวอุไรวรรณ สาสังข์

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : ชุมชนได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เกิดชุมชนต้นแบบด้านสุขภาพ และสร้างวัฒนธรรมที่ดีให้กับชุมชนและสถาบันการศึกษา คือ ประเพณีมอบลูกฮักลูกแพง ครอบครัวอุปถัมภ์ และ พัฒนาค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ตามนโนบายของรัฐบาล ที่ว่าด้วยความรักต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ เพื่อสานรักสานสัมพันธ์ให้ครอบครัว อันจะทำให้เกิดเครือข่ายชุมชน และสังคม
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : ผู้รับบริการ และประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการส่งเสริม ป้องกัน ดูแลสุขภาพของตนเอง บุคคลในครอบครัว และชุมชน

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
628
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
95
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
ใช้งบประมาณตามแผนงานที่กำหนดไว้

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา รายวิชา การพยาบาลมารดา ทารก และการผดุงครรภ์ 1
หลักสูตร หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต
นักศึกษาชั้นปี : นักศึกษาชั้นปี 2
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ร้อยละ 80 ของนักศึกษาได้รับความรู้เพิ่มขึ้น
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ จากแบบสะท้อนคิดในการประเมินรายวิชาและแบบทดสอบ
แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา รายวิชาการประเมินภาวะสุขภาพ
หลักสูตร หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต
นักศึกษาชั้นปี : นักศึกษาชั้นปี 2
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ร้อยละ 80 ของนักศึกษาได้รับความรู้เพิ่มขึ้น
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด เรื่อง การประเมินภาวะสุขภาพตามรูปแบบการประเมิน 11 แบบแผนของกอร์ดอน
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ แบบสะท้อนคิดในการประเมินรายวิชาและแบบทดสอบ
แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา รายวิชาการพยาบาลพื้นฐาน
หลักสูตร หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต
นักศึกษาชั้นปี : นักศึกษาชั้นปี 2
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ร้อยละ 80 ของนักศึกษามีทักษะและความรู้เพิ่มขึ้น
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด การประเมินวัดสัญญาณชีพ
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ จากแบบสะท้อนคิดในการประเมินรายวิชาและแบบทดสอบ
แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา รายวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ 1
หลักสูตร หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต
นักศึกษาชั้นปี : นักศึกษาชั้นปี 2
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ร้อยละ 80 ของนักศึกษาได้รับความรู้เพิ่มขึ้น
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด การส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ แบบสะท้อนคิดในการประเมินรายวิชาและแบบทดสอบ
แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา รายวิชาฝึกปฏิบัติการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
หลักสูตร หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต
นักศึกษาชั้นปี : นักศึกษาชั้นปี 3
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ร้อยละ 80 ของนักศึกษาได้รับความรู้เพิ่มขึ้น
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด การส่งเสริมสุขภาพจิตแก่ผู้ที่เสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิต
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ จากแบบสะท้อนคิดในการประเมินรายวิชาและแบบทดสอบ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 8,900.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 4,900.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 2,400.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 2 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
1,200.00 บาท
2) จำนวน 1 วัน x จำนวน 2 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
1,200.00 บาท
-วิทยากรภายใน ( รวม 2,500.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 2 ชม. x ชม.ละ 250.00 บาท x จำนวน 5 คน
=
2,500.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 4,000.00 บาท )
1) ค่าตอบแทนให้ข้อมูลกิจกรรมเตรียมความพร้อมจำนวน 40 คน x จำนวน 1 ชม. x จำนวน 100.00 บาท/ชม.
=
4,000.00 บาท

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 80,950.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 37,500.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 30.00 บาท x จำนวน 200 คน
=
12,000.00 บาท
2) จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 30.00 บาท x จำนวน 50 คน
=
1,500.00 บาท
3) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 30.00 บาท x จำนวน 200 คน
=
12,000.00 บาท
4) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 30.00 บาท x จำนวน 200 คน
=
12,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 32,500.00 บาท )
1) จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 200 คน
=
10,000.00 บาท
2) จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 50 คน
=
2,500.00 บาท
3) จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 200 คน
=
10,000.00 บาท
4) จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 200 คน
=
10,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 9,000.00 บาท )
- จำนวน 3 คัน x จำนวน 3 วัน x ราคา 1,000 บาท/คัน/วัน
=
9,000.00 บาท

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 1,950.00 บาท )
1) ค่าไวนิลโครงการ 3*2 ตรม. x 100 บ.
=
600.00 บาท
2) ค่าไวนิลแต่ละฐาน 1.5 *1 ตรม. x 100 บ. x 5 กลุ่ม
=
750.00 บาท
3) ค่าไวนิลโครงการ 3*2 ตรม. x 100 บ.
=
600.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 29,150.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 28,800.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
26,600 แผ่น x 0.50 บาท
=
13,300.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
15,500.00 บาท
=
15,500.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
0 คน x 0.00 บาท
=
0.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 350.00 บาท )
1) ค่ากระดาษฟิตชาร์ต 10 แผ่น x 20 บ.
=
200.00 บาท
2) ปากกาเขียนกระดาษฟิตชาร์ต 3 แท่ง x 50 บ.
=
150.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 119,000.00 บาท