แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2559
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียน ปีที่ 3
ลักษณะโครงการ อื่นๆ : การบริการทางการพยาบาลและการส่งเสริมสุขภาพ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาวะและบริการสุขภาพ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชน
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างสุขภาพอนามัยสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นางสาววิศนีย์ บุญหมั่่น คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : การพยาบาลสาธารณสุข
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ : การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น
หัวหน้าโครงการ

หลักการและเหตุผล
เด็กเป็นวัยที่มีความสำคัญต่อครอบครัวและประเทศชาติ สิ่งสำคัญในการเสริมสร้างให้เด็กมีคุณภาพ คือ การให้ความรัก ความเข้าใจ และการเลี้ยงดูที่เหมาะสม เด็กวัยก่อนเรียน เป็นเด็กที่มีอายุ 3 - 5 ปี เป็นวัยที่มีความสำคัญช่วงชีวิตหนึ่งของมนุษย์ เพราะเป็นวัยแห่งการพัฒนาความเป็นบุคคล ทั้งร่างกาย จิตใจ สมอง และลักษณะนิสัยจะสร้างและหล่อหลอมได้ดีในช่วงนี้ (พรทิพย์ ศิริบูลย์พิพัฒนา, 2555) สุขภาพเด็กวัยก่อนเรียน มีความสำคัญ เนื่องจากวัยนี้เป็นวัยแห่งการเรียนรู้ การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียนจึงมีความจำเป็น เพื่อเป็นการส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการในด้านต่างๆของเด็ก ทางคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จึงได้จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียนขึ้น โดยบูรณาการในรายวิชา การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น 1 สำหรับนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแขม สังกัดเทศบาลตำบลศรีไค โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ให้บริการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียน ตามปัญหาและความต้องการของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียนในสถานการณ์จริง ซึ่งจากการประเมินผลการดำเนินโครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียน ในปีที่ผ่านมา พบว่า เด็กและครูพี่เลี้ยงที่ดูแลเด็ก ต้องการได้รับการประเมินการเจริญเติบโต ความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพด้านต่างๆ และต้องการให้จัดโครงการอย่างต่อเนื่องทุกปี ด้านนักศึกษา ต้องการได้รับประสบการณ์และความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียนในสถานการณ์จริง กิจกรรมในการดำเนินโครงการ ประกอบด้วยกิจกรรมประเมินการเจริญเติบโต ประเมินภาวะโภชนาการ การตรวจสุขภาพเด็ก และกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ซึ่งมีพันธกิจในการให้บริการวิชาการแก่ชุมชน จึงได้จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียนขึ้นโดยบูรณาการในการเรียนการสอนรายวิชา การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น 1 เพื่อส่งเสริมให้เด็กวัยก่อนเรียนมีสุขภาพที่ดีต่อไป

วัตถุประสงค์
1.ให้บริการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียน โดยบูรณาการในการจัดการเรียนการสอนรายวิชา การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น 1
2.ให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียนในสถานการณ์จริง

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
เด็กที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จำนวน 60 คน เด็กที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแขม จำนวน 32 คน ครูพี่เลี้ยง จำนวน 13 คน นักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จำนวน 64 คน อาจารย์และบุคลากรคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จำนวน 5 คน
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
250 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
-ไม่มีข้อมูล

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2558
2559
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียน ขั้นวางแผนงาน (P) 1.1 ประชุมคณะกรรมการและขออนุมัติโครงการ 1.2 วางแผนเตรียมการดำเนินการ 1.3 ประสานงานผู้ที่เกี่ยว - - --- --- 8,500.00
2.ขั้นดำเนินการ (D) ดำเนินการตามกิจกรรม ดังนี้ 2.1 ตรวจสุขภาพเด็ก 2.2 จัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียน --- --- --- 8,500.00
3.ขั้นสรุปและประเมินผล (C) 3.1 ผู้เข้าร่วมโครงการทำแบบสอบถาม 3.2 ประเมินผลความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ 3.3 สรุปผลความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ --- --- --- 8,500.00
4.ขั้นปรับปรุงตามผลการประเมิน (A) ประชุมคณะกรรมการ วางแผนนำผลการประเมินไปปรับปรุงแก้ไข --- -- -- --- 8,500.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 - 30 กันยายน พ.ศ. 2559 รวมเวลา 366 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
1 มีนาคม พ.ศ. 2559
08.00 - 16.00 น. การส่งเสริมสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียน ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์
15 มีนาคม พ.ศ. 2559
08.00 - 16.00 น. การส่งเสริมสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียน ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแขม กิจกรรมประกอบด้วย - การประเมินการการ อาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : เด็กที่ศูนย์เด็กเล็ก ได้รับการประเมินการเจริญเติบโต ประเมินภาวะโภชนาการ ตรวจสุขภาพและได้รับความรู้จากการให้สุขศึกษาในเรื่องการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียน
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
250
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
90
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
เป็นไปตามงบประมาณที่จัดสรร

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น 1
หลักสูตร หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต
นักศึกษาชั้นปี : นักศึกษาชั้นปี 2
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ร้อยละ 80 ของนักศึกษาได้รับความรู้เพิ่มขึ้นในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียน
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด ร้อยละ 100 ของนักศึกษาที่มีส่วนร่วมในการให้บริการวิชาการ
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 0.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 19,750.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 6,250.00 บาท )
1) จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 250 คน
=
6,250.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 12,500.00 บาท )
1) จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 250 คน
=
12,500.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 1,000.00 บาท )
1) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์
=
1,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 9,250.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 9,250.00 บาท )
1) ค่าวัสดุจัดโครงการ
=
9,250.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 29,000.00 บาท