แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2560
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ การออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์และสาธิตการประยุกต์ใช้งานเพื่อเป็นแหล่งพลังงานในโรงเรียน
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายการบริการวิชาการกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในด้านสังคมสูงวัย ด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษา ด้านการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ และการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนและการยกระดับคุณภาพการศึกษา
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายธนกร ลิ้มสุวรรณ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : วศม.สาขาวิศวกรรมเครื่องกล(พลังงาน) มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ประสบการณ์ : อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
ความเชี่ยวชาญ : เซลล์สุริยะ ไมโครคอนโทลเลอร์ ระบบควบคุม โปรแกรมคอมพิวเตอร์
หัวหน้าโครงการ
ดร.ประชา คำภักดี คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : D.Eng. (Electrical Engineering), Tokyo Institute of Technology (TIT), Tokyo, Japan
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ : Power Electronics: inverters, converters, grid connected interfacing Renewable Energy: Solar cell, Fuel cell Electric Drives and Automation system Electromagnetic Compatibility (EMC): EMI emissions on power converters Modular multilevel cascade converters for utility applications
ผู้ร่วมโครงการ
นายอุทัย สุขสิงห์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : RS & GIS
ประสบการณ์ : อาจารย์สอนในมหาวิทยาลัย 30 ปี
ความเชี่ยวชาญ : GIS Electronic Programcomputer Microcontrol
ผู้ร่วมโครงการ
นายสมนึก เวียนวัฒนชัย คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : อิเล็กทรอนิกส์โทรคมนาคม
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
ผู้ร่วมโครงการ
นายวิชชุกร อุดมรัตน์ คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : สาขาไฟฟ้า
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
ผู้ร่วมโครงการ
นายภูมิพัฒน์ โทจันทร์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : วิศวกรรมไฟฟ้า
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
ผู้ร่วมโครงการ
นายผดุง กิจแสวง คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
ประสบการณ์ : วิจัยและสอนวิชาปิบัติการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 16 ปี
ความเชี่ยวชาญ : -Microcontroller application -Embebded system -PLC application -Electrical Machine Drive and Control
เลขานุการ

หลักการและเหตุผล
ประเทศไทยใช้พลังงานไฟฟ้าเพิ่มสูงขึ้นทุกๆ ปี ตามการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แต่แหล่งผลิตพลังงานไฟฟ้าภายในประเทศลดน้อยลงและกำลังจะหมดไป การใช้โซล่าเซลล์ผลิตพลังงานไฟฟ้าเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ที่มีความเหมาะกับตำแหน่งพื้นที่ของประเทศ ประกอบกับคุณสมบัติของโซล่าเซลล์ การใช้และบำรุงรักษาง่าย อายุการใช้งานยาวนาน ขนาดเล็ก ปัจจุบันราคาถูกลง ที่สำคัญเป็นพลังงานสะอาดช่วยลดโลกร้อน จากการศึกษาวิจัยมาหลายปีพบว่า ถ้าออกแบบระบบควบคุมการทำงานให้เหมาะสม สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับโรงเรียน ครัวเรือนและชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ใช้เป็นแหล่งพลังงานให้กับระบบแสงสว่าง ปั้มน้ำการเกษตร ระบบน้ำประปาหมู่บ้าน และไฟฟ้าในสำนักงาน ฯลฯ เป็นต้น นอกจากนี้ เพื่อเป็นการกระตุ้นให้นักเรียนได้เรียนรู้ระบบการผลิตและประยุกต์ใช้ระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ และตระหนักถึงการใช้พลีงงานจากธรรมชาติ ซึ่งเป็นพลังงานสะอาด เป็นพลังงานทางเลือกในการใช้พลังงาน

วัตถุประสงค์
1.การประยุกต์ใช้ ระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เบื้องต้น ให้แก่นักเรียน ครู และผู้สนใจในชุมชน
2.เพื่อให้ความรู้ในการออกแบบติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เบื้องต้น ให้นักเรียน ครู และผู้สนใจในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ เป็นนักเรียน และ ครู ในโรงเรียนเขตพื้นที่บริการมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และผู้สนใจตัวแทนชุมชน
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
50 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ 1. เสนอโครงการ 2.อนุมัติโครงการ 3. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานฯ 4. ประชาสัมพันธ์โครงการฯ 5. รับสมัครผู้เข้าร่วมการอบรมโครงการฯ 6.ติดต่อผู้เข้าร่วมฝึกอบรมและวิทยากร 7. ซื้ออุปกรณ์การทดลองและจ้างเหมาสร้างชุดฝึกทดลอง 8. จัดฝึกอบรมตามโครงการฯ 9. ประเมินผลโครงการฯ 10. สรุปและจัดทำรายงานของโครงการฯ

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2559
2560
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.อนุมัติโครงการ -- --- --- --- 0.00
2.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานฯ ประชาสัมพันธ์โครงการฯ -- --- --- --- 0.00
3.รับสมัครผู้เข้าร่วมการอบรมโครงการฯ ติดต่อผู้เข้าร่วมฝึกอบรมและวิทยากร ซื้ออุปกรณ์การทดลอง --- - --- 137,000.00
4.จัดฝึกอบรมตามโครงการฯ --- --- -- --- 0.00
5.ประเมินผลโครงการฯ สรุปและจัดทำรายงานของโครงการฯ --- --- -- --- 0.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 - 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 รวมเวลา 2 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
13 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
08.30 - 10.30 พื้นฐานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์และชนิดของเซลล์แสงอาทิตย์ นายธนกร ลิ้มสุวรรณ ดร.ประชา คำภักดี นายผดุง กิจแสวง
13 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
10.30 - 12.00 อุปกรณ์และการเชื่อมต่อระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ นายธนกร ลิ้มสุวรรณ ดร.ประชา คำภักดี นายผดุง กิจแสวง
13 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
13.00 - 16.30 การออกแบบ ติดตั้ง และการเชื่อมต่อระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์กับระบบแสงสว่างในโรงเรียน นายธนกร ลิ้มสุวรรณ ดร.ประชา คำภักดี นายผดุง กิจแสวง
14 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
08.30 - 12.00 การออกแบบ ติดตั้ง และการเชื่อมต่อระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์กับระบบปั้มน้ำกระเกษตรในโรงเรียน นายธนกร ลิ้มสุวรรณ ดร.ประชา คำภักดี นายผดุง กิจแสวง
14 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
13.00 - 16.30 การออกแบบ ติดตั้ง และการเชื่อมต่อระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์กับระบบไฟฟ้าสำนักงานในโรงเรียน นายธนกร ลิ้มสุวรรณ ดร.ประชา คำภักดี นายผดุง กิจแสวง

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -ทางโรงเรียน ลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานไฟฟ้า ช่วยลดโลกร้อน
ด้านสังคม : -ทางโรงเรียน มีความเข้มแข็ง สามารถผึ่งพาตัวเองได้ในด้านพลังงานไฟฟ้า
ด้านสิ่งแวดล้อม : -เป็นพลังงานสะอาด ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมช่วยลดโลกร้อน
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
50
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
2740

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา วิชา รายวิชา 1306 221 ปฏิบัติการเครื่องจักรกลไฟฟ้า (Electrical Machine Laboratory)
หลักสูตร หลักสูตร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
นักศึกษาชั้นปี : นักศึกษาชั้นปี : นักศึกษาชั้นปีที่ 2
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ระบบไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า การวัดและเครื่องวัดไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า การควบคุมเครื่องจักรกลไฟฟ้า
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด ร้อยละ 80 ของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เพิ่มขึ้นสามารถสอบผ่านวิชา รายวิชา 1306 221 ปฏิบัติการเครื่องจักรกลไฟฟ้า
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ เปํนผู้ช่วยวิทยากร

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 39,600.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 33,600.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 33,600.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 4 คน
=
33,600.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 6,000.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 6,000.00 บาท )
1) จำนวน 4 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 5 คน
=
6,000.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 31,000.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 6,000.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 30.00 บาท x จำนวน 50 คน
=
6,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 10,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 100.00 บาท x จำนวน 50 คน
=
10,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 4,000.00 บาท )
- จำนวน 1 คัน x จำนวน 2 วัน x ราคา 2,000 บาท/คัน/วัน
=
4,000.00 บาท

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 6,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 คน x จำนวน 1 เดือน x เดือนละ 6,000.00 บาท
=
6,000.00 บาท

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 5,000.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาผลิตเอกสารประกอบการอบรม เล่มละ 100 บาท x 50 เล่ม
=
5,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 9,400.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 2,500.00 บาท )
1) วัสดุสำนักงานจ่ายจริง
1 x 2,500 บาท
=
2,500 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 1,200.00 บาท )
1) ป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์
2 x 600 บาท
=
1,200 บาท

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 3,700.00 บาท )
1) อุปกรณ์เก็บข้อมูลและการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
1 x 3,700 บาท
=
3,700 บาท

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 2,000.00 บาท )
1) ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง
1 x 2,000 บาท
=
2,000 บาท

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 80,000.00 บาท