แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2560
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ ค่ายพี่เพื่อน้อง สู่ฝันวิทยาการคอมพิวเตอร์
ลักษณะโครงการ การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายการบริการวิชาการกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในด้านสังคมสูงวัย ด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษา ด้านการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ และการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนและการยกระดับคุณภาพการศึกษา
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นางสาววาสนา เหง้าเกษ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : วิทยาการคอมพิวเตอร์
ประสบการณ์ : ประวัติการทำงาน • 2538 – ปัจจุบัน อาจารย์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี • 2534-2536 โปรแกรมเมอร์ ฝ่ายพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (สำนักงานใหญ่) ทุนวิจัย • "การพัฒนาระบบการประเมินตนเองเพื่อการเรียนรู้วิชาแคลคูลัสเบื้องต้น" สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2553 (วช.53) • "การประยุกต์ใช้โครงสร้างความรู้แบบยืดหยุ่นได้ในระบบจัดการการเรียนเพื่อสนับสนุนทักษะการค้นคว้าความรู้เพิ่มเติมของผู้เรียน" สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2552 (วช.52) • "สื่อการสอนเพื่อการทบทวนแบบมีการโต้ตอบกับผู้เรียนโดยทันที: สำหรับวิชาแคลคูลัส 1" สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2551 (วช.51) บทความ และเอกสารทางวิชาการ • Wasana Ngaogate. Embedding ITS Concepts for Teaching Java with a Pair of a Pre-Quiz and a Quiz. The 19th International Computer Science and Engineering Conference (ICSEC), 23 - 26 November 2015, Chiang Mai, Thailand. • วาสนา เหง้าเกษ. เขียน JAVA GUI และ JSP ด้วย NETBEANS. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ISBN : 9789740333036 ปีพิมพ์ : 1 / 2558. • Wasana Ngaogate. EKS: Open-source Web-based Distributed Learning Tool. An International Journal of Information & Security, Vol.14, 2004. • Wasana Ngaogate. Just-in-time Improving and Delivering Teaching Material. Newsletter of Learning Technology Task Force (LTTF), IEEE Computer Society, Vol.5 Issue 3, 2003. • Wasana Ngaogate. A CAL Wizard. International Conference on Computers in Education, 2002, NZ. ประสบการณ์การสอน/การอบรม • ฝึกอบรม - 2558 การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเทคนิค Data Mining โดยซอฟต์แวร์ RapidMiner Studio 6 ขั้นพื้นฐานและปานกลาง โดยบริษัทดาต้าคิวบ์ - 2551 โปรแกรมพัฒนาวิทยากรและผู้สอนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ในโครงการร่วมมือไทย-อินเดีย ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ - 2550 Sun Certified Java Programmer
ความเชี่ยวชาญ : * Programmming Language : Java, JavaServer Pages (JSP), C, COBOL * Software System Analysis and Design
หัวหน้าโครงการ

หลักการและเหตุผล
เนื่องจากปัญหาการตกออกของนักศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะในชั้นปีที่ 1 มีจำนวนประมาณร้อยละ 50 ในแต่ละปี หลักสูตรได้วิเคราะห์ผลการดำเนินงานแล้วพบว่าปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อการตกออกคือนักเรียนระดับชั้นมัธยมปลายขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนการสอนในหลักสูตร เช่น เข้าใจว่าการเรียนวิทยาการคอมพิวเตอร์คือการเรียนตัดต่อภาพยนตร์ การตกแต่งภาพ โดยที่โรงเรียนส่วนมากไม่ได้จัดการสอนวิชาที่เกี่ยวข้องกับการเขียนโปรแกรม ซึ่งเป็นพื้นฐานที่สำคัญของวิชาชีพ คณะวิทยาศาสตร์และหลักสูตรได้ให้การสนับสนุนนักศึกษาในการจัดกิจกรรมออกค่ายเพื่อจัดอบรมการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นให้กับนักเรียนในโรงเรียนมัธยมในภูมิภาคต่อเนื่องกันเป็นเวลา 3 ปี พบว่านอกจากจะทำให้นักเรียนชั้นมัธยมได้มีประสบการณ์ในการเรียนรู้วิชาเกี่ยวกับวิทยาการคอมพิวเตอร์แล้ว ยังทำให้นักศึกษาที่ดำเนินโครงการได้ฝึกทักษะในการทำงานเป็นทีม และมีจิตอาสาอีกด้วย ดังนั้น เพื่อให้การทำงานค่ายของนักศึกษาเป็นได้ราบรื่นมากขึ้นจากอุปสรรคด้านทุนการจัดทำค่ายได้ด้วยการได้รับทุนจากมหาวิทยาลัย

วัตถุประสงค์
1.1. สร้างความเข้าใจให้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายเกี่ยวกับการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ 2. ฝึกทักษะนักศึกษาสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ในการบริหารจัดการโครงการ ฝึกทำงานเป็นทีม และทำงานเพื่อสังคม

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
1. นักเรียนระดับชั้นมัธยมปลาย โรงเรียนในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 100 คน 2. นักศึกษาในคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จำนวน 45 คน 3. อาจารย์/บุคลากรในคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จำนวน 2 คน
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
147 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
-ไม่มีข้อมูล

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2559
2560
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2559 - 29 กันยายน พ.ศ. 2560 รวมเวลา 362 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ :
ด้านสังคม :
ด้านสิ่งแวดล้อม :
ด้านอื่นๆ : 1. นักเรียนระดับชั้นมัธยมปลายได้เรียนรู้การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น 2. นักเรียนระดับชั้นมัธยมปลายได้เรียนรู้หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 3. นักเรียนระดับชั้นมัธยมปลายได้เรียนรู้รูปแบบและเนื้อหาที่มีในหลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ 4. นักศึกษาพี่เลี้ยงได้ฝึกบริหารจัดการโครงการเพื่อสังคม และพัฒนาทักษะการถ่ายทอดความรู้

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
147
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
70
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
50
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
นักศึกษาพี่เลี้ยงได้ฝึกบริหารจัดการโครงการเพื่อสังคม และพัฒนาทักษะการถ่ายทอดความรู้

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


-
การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 0.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 89,115.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 43,440.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 42,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 ครั้ง x จำนวน 3 คน x ครั้งละ 14,000.00 บาท
=
42,000.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 1,440.00 บาท )
1) จำนวน 3 วัน x จำนวน 2 วัน x วันละ 240.00 บาท
=
1,440.00 บาท

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 45,675.00 บาท )
1) จำนวน 9 มื้อ x มื้อละ 35.00 บาท x จำนวน 145 คน
=
45,675.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 0.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 89,115.00 บาท