แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2560
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะศิลปประยุกต์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ โครงพลังงานทางเลือกเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าในพื้นที่การศึกษา กรณีศึกษามหาวิทยาลัยอุบลราชานี
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : พัฒนาระบบและกลไกการบริการวิชาการอย่างมีส่วนร่วมให้มีประสิทธิภาพ ตามนโยบาย/ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยและประเทศ
นโยบาย : การบริการวิชาการเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิต ในด้านการบริการสุขภาพ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายกรกิฎ เหล่าสกุล คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา :
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
หัวหน้าโครงการ
นายจักรภพ เสาเวียง คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : -
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
ผู้ร่วมโครงการ
นายยง บุญอารีย์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : สถาปัตยกรรม
ประสบการณ์ : สถาปนิก พ.ศ.2549-2557 อาจารย์พิเศษ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อาจารย์ประจำ พ.ศ.2557
ความเชี่ยวชาญ : การออกแบบสถาปัตยกรรม
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวลลิดา บุญมี คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : สถาปัตยกรรม
ประสบการณ์ : สถาปนิก พ.ศ.2550-ปัจจุบัน อาจารย์ประจำ พ.ศ.2557
ความเชี่ยวชาญ : การออกแบบสถาปัตยกรรม
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
พลังงานถือได้ว่าเป็นสิ่งที่มีความจำเป็นอันดับต้นๆ ในการดำรง ชีวิตของมนุษย์ พลังงานไฟฟ้า เป็นพลังงานที่มนุษย์รู้จักกันดีและถูกนำมาใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลายเนื่องจากสามารถเปลี่ยนไปเป็นพลังงานรูปอื่นได้ง่ายสามารถควบคุมและใช้งานได้สะดวก โดยทั่วไปแล้วการผลิตกระแสไฟฟ้าจะอาศัยทรัพยากรจาก แหล่งกำเนิดพลังงานฟอสซิล อันได้แก่ ปิโตรเลียม แก๊สธรรมชาติ และถ่านหิน เป็นต้น แต่ปัจจุบันพบว่า แหล่งพลังงานต่างๆมีปริมาณที่จำกัดกำลังลดลงเรื่อยๆจนหมดไปในไม่ช้านี้ ดังนั้นมนุษย์จึงให้ความสนใจในการ พัฒนาการผลิตกระแสไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานหมุนเวียน เช่น พลังงานลม พลังงานน้ำ พลังงานชีวมวล พลังงานความร้อนใต้พิภพและพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นต้น (พงศธร อมรพิทักษ์สุขและนรารักษ์ หลีสกุล,2546) พลังงานแสงอาทิตย์เป็นต้นกำเนิดของชีวิตบนโลกมนุษย์พืชและจุลินทรีย์ที่สามารถสังเคราะห์แสงได้ เป็นต้นตอของระบบห่วงโซ่อาหารและนับเป็นแหล่งพลังงานที่ไม่มีทางหมดไปเป็นพลังงานหมุนเวียน ที่สะอาดไม่ทำปฏิกิริยาใดๆอันจะทำให้สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ สำหรับประเทศไทยซึ่งเป็นประเทศใกล้เส้นศูนย์สูตร และได้รับพลังงานแสงอาทิตย์เฉลี่ยต่อปีเป็นจำนวนมากและมีสภาพภูมิอากาศที่ค่อนข้างคงตัว ไม่เปลี่ยน แปลงง่าย ปัญหาความไม่แน่นอนของผลผลิตพลังงานแสงอาทิตย์จึงมีไม่มากนัก เซลล์แสงอาทิตย์จึงเป็นสิ่งประดิษฐ์ทางอิเลคทรอนิกส์ชนิดหนึ่งที่ถูกนำมาใช้ผลิตไฟฟ้า เนื่องจาก สามารถเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานไฟฟ้าได้โดยตรง(สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2546) พลังงานแสงอาทิตย์ไม่จำเป็นต้องอาศัยการขนส่งเชื้อเพลิงหรือการส่งกำลังไฟฟ้า เพราะมันสามารถ ผลิตได้โดยหน่วยผลิตกระแสไฟฟ้าขนาดเล็กในการทำความร้อนและความเย็นการใช้แสงแดดโดยตรง จะกำจัด ปัญหาเรื่องการขนส่งเชื้อเพลิงและส่งกำลังไฟฟ้าเป็นระยะทางไกลๆ ข้อได้เปรียบอันนี้จะช่วยหักลบกับค่าใช้ จ่ายที่สูงเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์เป็นไฟฟ้าและปัญหาการเก็บกำลังไฟฟ้า ในกรณี ที่แสงอาทิตย์ไม่ได้มีอยู่อย่างต่อเนื่อง (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยวิทยาศาสตร์,2529) เนื่องด้วยสภาพแวดล้อมและสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน อีกทั้งภายในพื้นที่การศึกษาประสบปัญหาการใช้พลังงานเป็นอย่างมากมาก ทำให้พลังงานทางเลือกเป็นช่องทางที่น่าสนใจ เพราะนอกจากจะช่วยลดปัญหา ค่าใช้จ่ายจากการใช้พลังงานไฟฟ้ามากเกินไป การศึกษานี้สนใจเรื่องการจัดการพลังงานทางเลือกภายในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เพื่อสามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าได้เองและเพื่อลดการใช้ไฟฟ้าภายในมหาวิทยาลัยในระยะยาว

วัตถุประสงค์
1.เผยแพร่องค์ความรู้ให้แก่อาจารย์ นักศึกษา บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยและบุคคลทั่วไป ตระหนักถึงความสำคัญของพลังงานทางเลือกและสามารถนำวิธีการไปประยุกต์ใช้ต่อได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
2.เพื่อศึกษาระบบ อุปกรณ์ ที่มีความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ในการผลิตพลังงานทางเลือกภายในพื้นที่การศึกษาและประยุกต์ใช้ระบบผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานทางเลือก ภายในพื้นที่การศึกษา

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
อาจารย์ บุคลากร นักศึกษา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประชาชนทั่วไป ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
50 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
-ไม่มีข้อมูล

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2559
2560
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.วางแผน -- --- --- --- 15,000.00
2.ประชาสัมพันธ์ - --- --- --- 5,000.00
3.ดำเนินโครงการ - --- --- --- 60,000.00
4.สรุปผล -- --- --- --- 10,000.00
5.รายงานผลการดำเนินงาน -- --- --- --- 10,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2559 - 30 กันยายน พ.ศ. 2560 รวมเวลา 92 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถออกแบบและวางระบบวงจรการผลิตไฟฟ้าเบื้องต้นจากพลังงานทางเลือกได้
ด้านสังคม : -
ด้านสิ่งแวดล้อม : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพลังงานทางเลือกอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
60
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


-
การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 25,800.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 9,000.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 7,200.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 1,200.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
7,200.00 บาท
-วิทยากรภายใน ( รวม 1,800.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
1,800.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 16,800.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันหยุดราชการ ( รวม 16,800.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 20 คน
=
16,800.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 44,760.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 2,960.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 2,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 ครั้ง x จำนวน 2 คน x ครั้งละ 500.00 บาท
=
2,000.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 960.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 2 วัน x วันละ 240.00 บาท
=
960.00 บาท

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 2,500.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 50 คน
=
2,500.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 2,500.00 บาท )
1) จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 50 คน
=
2,500.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 36,800.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาจัดทำต้นแบบ
=
35,000.00 บาท
2) ค่าจัดทำรูปเล่มรายงานผลการดำเนินงาน
=
1,800.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 29,440.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 4,440.00 บาท )
1) วัสดุสำนักงาน
1 x 4,440 บาท
=
4,440 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 5,000.00 บาท )
1) ไวนิลประชาสัมพันธ์
1 x 5,000 บาท
=
5,000 บาท

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 20,000.00 บาท )
1) ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์
1 x 20,000 บาท
=
20,000 บาท

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 100,000.00 บาท