แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2560
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะศิลปประยุกต์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ การพัฒนารูปแบบผ้าย้อมมะเกลือบ้านหนองบ่อ เพื่อสร้างตราสินค้าและออกแบบเป็นเครื่องแต่งกายร่วมสมัย
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : พัฒนาระบบและกลไกการบริการวิชาการอย่างมีส่วนร่วมให้มีประสิทธิภาพ ตามนโยบาย/ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยและประเทศ
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายกฤษดา รัตนางกูร คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา :
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
หัวหน้าโครงการ
นางสาวศิริพร ฉัตรสุวรรณ์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : -
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
ผู้ร่วมโครงการ
ผศ.ดร.สิทธิชัย สมานชาติ คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : Design
ประสบการณ์ : 1. โครงการ สำรวจหลักฐานผ้าและเครื่องแต่งกายโบราณของชาวอีสานจากฮูปแต้มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เพื่อเป็นฐานข้อมูลการวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา (ทำนุ ปี 2552) 2. โครงการสำรวจผ้าซิ่นหมี่หัวจกดาว เอกลักษณ์เมืองอุบล เพื่อสืบสานและเป็นฐานข้อมูลในการจัดการเรียนการสอนฯ (ทำนุ ปี 2552) 3. โครงการสำรวจและศึกษาภูมิปัญญาด้านสิ่งทอในเขตลุ่มน้ำโขง ของชาวภูไท จังหวัดมุกดาหาร ประเทศไทย และชาวภูไท-มะกอง แขวงสะหวันเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ทำนุ ปี 2553) 4. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ออกแบบลายผ้ามัดหมี่ด้วยกราฟ เพิ่มทักษะสำหรับกลุ่มผ้าทอจังหวัดอุบลราชธานี (บริการวิชาการ 2559) 5. โครงการสำรวจและจัดทำเวปไซต์ ข้อมูลหลักฐานลวดลายผ้าโบราณเมืองอุบลฯ จากผู้ถือครองมรดกคลังสะสมผ้าของ หม่อมเจ้าหญิงบุญจิราธร จุฑาธุช เพื่อบูรณาการกับการเรียนการสอน (ทำนุฯ 2559)
ความเชี่ยวชาญ : ประวัติศาสตร์สิ่งทออีสาน ออกแบบสิ่งทอร่วมสมัย การย้อมสีธรรมชาติ
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
ผ้าไทยถือเป็นสัญลักษณ์ของความเจริญรุ่งเรืองทางวัฒนธรรมอย่างหนึ่งของประเทศ ในปัจจุบันจะเห็นได้ว่าอุตสาหกรรมสิ่งทอของไทย ได้มีการพัฒนามากยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นด้านเส้นใย วิธีการทอลวดลายรูปแบบการนำเสนอต่างๆ แต่จะเห็นได้ว่าผ้าทอพื้นถิ่นของไทยยังมีการจำกัดในเรื่องของกลุ่มลูกค้าที่ยังแคบอยู่ อาจเป็นเพราะการรณรงค์อย่างไม่ต่อเนื่องการนำเสนอไม่ตรงใจกลุ่มเป้าหมาย ลวดลายหรือสีสันที่อาจดูไม่ทันสมัย คนทั่วไปจึงเข้าใจว่าผ้าทอพื้นถิ่นของไทยเหมาะกับผู้สูงอายุเท่านั้น อันที่จริงแล้วผ้าทอพื้นถิ่นสามารถปรับใช้ได้หลายโอกาส สวมใส่ได้ทุกวัยขึ้นอยู่กับการนำเสนอ และวาระโอกาสที่เหมาะสม ไม่ว่าจะสวมใส่ไปทำงาน หรือเป็นงานพิธีการ งานปาร์ตี้ หรือแม้แต่งานราตรีสโมสรต่างๆ เราสามารถพัฒนารูปแบบการนำเสนอผ้าทอพื้นถิ่นได้มากมาย เนื่องจากผ้าทอพื้นถิ่นถือเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ เราทุกคนควรภาคภูมิใจและร่วมมือกันพัฒนา นำเสนอภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ ผ้าย้อมมะเกลือถือเป็นภูมิปัญญาของบรรพบุรุษที่สืบทอดกันมาอย่างช้านาน มีรูปแบบที่คงไว้ซึ่งความเป็นอัตลักษณ์ที่ชัดเจน แต่ในปัจจุบันความนิยมในผ้าไหมลายลูกแก้วย้อมมะเกลือ เป็นที่รู้จักและนิยมกันในวงแคบ เนื่องจากรูปแบบที่ไม่ทันสมัย ไม่โดนใจวัยรุ่น และไม่ได้รับการพัฒนารูปแบบ ผู้วิจัยจึงได้นำเอารูปแบบของผ้าไหมลายลูกแก้วย้อมสีมะเกลือ มาประยุกต์ต่อยอดให้เกิดรูปแบบที่มีความแปลกใหม่ สวยงามทันสมัยสวมใส่ได้ในชีวิตประจำวัน มีรูปแบบที่แตกต่างออกไปจากที่เป็นอยู่โดยใช้เทคนิคการมัดย้อม และเทคนิคต่างๆ

วัตถุประสงค์
1.เพื่อพัฒนารูปแบบผ้าย้อมมะเกลือบ้านหนองบ่อ เพื่อสร้างตราสินค้าและออกแบบเป็นเครื่องแต่งกายร่วมสมัย
2.เพื่อพัฒนารูปแบบแฟชั่น การผสมผสานรูปแบบความทันสมัย กับผ้าย้อมมะเกลือ ผ้าย้อมสีธรรมชาติ บ้านหนองบ่อ จังหวัดอุบลราชธานี

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
ชาวบ้านชุมชนหนองบ่อ
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
30 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
-ไม่มีข้อมูล

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2559
2560
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.ประชุมและวางแผนการดำเนินงาน --- --- --- 0.00
2.ลงพื้นที่ประสานงาน/ประชาสัมพันธ์ --- --- --- 0.00
3.ดำเนินโครงการ --- --- --- 0.00
4.สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน --- --- --- 0.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2559 - 30 กันยายน พ.ศ. 2560 รวมเวลา 365 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : -
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
0
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
0
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
0
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


-
การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 83,200.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 43,200.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 21,600.00 บาท )
1) จำนวน 3 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 1,200.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
21,600.00 บาท
-วิทยากรภายใน ( รวม 21,600.00 บาท )
1) จำนวน 3 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
21,600.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 40,000.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 40,000.00 บาท )
1) จำนวน 20 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 10 คน
=
40,000.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 26,600.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 19,600.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 10,000.00 บาท )
1) จำนวน 10 ครั้ง x จำนวน 2 คน x ครั้งละ 500.00 บาท
=
10,000.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 9,600.00 บาท )
1) จำนวน 10 วัน x จำนวน 4 วัน x วันละ 240.00 บาท
=
9,600.00 บาท

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 3,500.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 35 คน
=
3,500.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 3,500.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 35 คน
=
3,500.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 40,000.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 30,000.00 บาท )
1) ค่าวัสดุสำนักงาน
30,000 x 1 บาท
=
30,000 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 5,000.00 บาท )
1) ค่าวัสดุประชาสัมพันธ์
5,000 x 1 บาท
=
5,000 บาท

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 5,000.00 บาท )
1) ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์
5,000 x 1 บาท
=
5,000 บาท

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 149,800.00 บาท