แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2560
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะศิลปประยุกต์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการเชิงบูรณาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง : การออกแบบที่พักอาศัยที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงวัย กรณีศึกษา จังหวัดอุบลราชธานี
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : พัฒนาระบบและกลไกการบริการวิชาการอย่างมีส่วนร่วมให้มีประสิทธิภาพ ตามนโยบาย/ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยและประเทศ
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเตรียมการสู่สังคมผู้สูงวัย
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายกรกิฎ เหล่าสกุล คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา :
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
หัวหน้าโครงการ
นายยง บุญอารีย์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : สถาปัตยกรรม
ประสบการณ์ : สถาปนิก พ.ศ.2549-2557 อาจารย์พิเศษ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อาจารย์ประจำ พ.ศ.2557
ความเชี่ยวชาญ : การออกแบบสถาปัตยกรรม
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวลลิดา บุญมี คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : สถาปัตยกรรม
ประสบการณ์ : สถาปนิก พ.ศ.2550-ปัจจุบัน อาจารย์ประจำ พ.ศ.2557
ความเชี่ยวชาญ : การออกแบบสถาปัตยกรรม
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
โครงการบริหารจัดการเชิงบูรณาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง : การออกแบบที่พักอาศัยที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงวัย กรณีศึกษา จังหวัดอุบลราชธานี ความสำคัญของโครงการ/หลักการและเหตุผล ในปัจจุบันหลายประเทศทั่วโลก รวมถึงประเทศไทยกำลังเดินไปสู่ความเป็นสังคมผู้สูงอายุ มนุษย์จะมีอายุยืนยาวขึ้นและต้องการสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ที่จะก่อให้เกิดความสะดวก และปลอดภัยในการดำเนินชีวิตประจำวันมากขึ้น ข้อมูลจากองค์การสหประชาชาติ (UN) ระบุว่า ปัจจุบัน ประชากรโลกมีจำนวนกว่า 7,000 ล้านคน มีผู้สูงอายุที่อายุเกิน 60 ปีขึ้นไป จำนวน 893 ล้านคน หรือคิดเป็น 12.8% ในจำนวนนี้ มีผู้ที่มีอายุเกิน 100 ปี มากถึง 340,000 คน และมีแนวโน้มว่า ประชากรผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นอีกราว 200 ล้านคน ภายในอีก 10 ปีข้างหน้า หมายความว่า ภายในปี พ.ศ.565 จำนวนประชากรผู้สูงอายุทั่วโลกจะมีมากกว่า 1,000 ล้านคน ในสมัย จอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ได้กำหนดนโยบาย ที่สำคัญประการหนึ่ง ในอันที่จะส่งเสริมสนับสนุน ให้ประชาชนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี มีคุณภาพ และดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข จึงได้มอบให้กรมประชาสงเคราะห์ จัดตั้งสถานสงเคราะห์คนชราขึ้น เพื่อให้การสงเคราะห์ผู้สูงอายุ ที่เดือดร้อนมีความทุกข์ยาก ประสบปัญหาและไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยตนเอง กรมประชาสงเคราะห์จึงได้จัดตั้งสถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางแค เป็นแห่งแรกในปี พ.ศ. 2496 ประชากรโลกจะมีผู้พิการมากขึ้น คนพิการ หรือคนที่จำเป็นต้องใช้สิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ในโลกยุคปัจจุบัน และอนาคตจะมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น เพราะความพิการส่วนใหญ่ไม่ได้มาจากพิการโดยกำเนิดแล้ว แต่เป็นความพิการที่มาจากความเจ็บไข้ได้ป่วย และอุบัติเหตุ รวมถึงความพิการที่มาจากสภาพความแก่ชรา กฎหมายบังคับให้ทำในปัจจุบัน ประเทศที่เจริญแล้วทั่วโลก เช่น ญี่ปุ่น อเมริกา อังกฤษ เยอรมนี ฯลฯ มีการออกกฎหมายบังคับให้สถานที่สาธารณะ และตึกอาคารต่างๆ จะต้องจัดทำสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อคนทั้งมวล อย่างไรก็ตาม ประเทศไทย ในช่วง 15 ปีมานี้ ก็ได้มีกฎหมายหลายฉบับออกมามีผลบังคับใช้ ทั้งกฎหมายรัฐธรรมนูญตั้งแต่ปี 2540 ถึงฉบับปัจจุบัน กฎหมายส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กฎกระทรวงมหาดไทย ปี 2548 และกฎกระทรวงการพัฒนาสังคมฯ ปี 2556 เป็นต้น ซึ่งมีผลบังคับใช้ให้การออกแบบสร้างทำตึกอาคาร และสถานที่สาธารณะทุกแห่ง จะต้องมีอารยสถาปัตย์ คือ ต้องจัดทำสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ สำหรับผู้พิการ และผู้สูงอายุด้วยแล้วเช่นกัน ความจำเป็นในการดำเนินโครงการ เรื่องอารยสถาปัตย์ หรือ Universal Design เป็นภาษาสากล และกติกาสากลของโลกยุคปัจจุบัน และอนาคต ดังจะเห็นได้ว่าในทุกประเทศที่เจริญแล้วพัฒนาแล้ว แม้แต่ในบางประเทศที่กำลังพัฒนา ก็จะต้องมีสิ่งเหล่านี้ ด้วยเหตุนี้ “อารยสถาปัตย์” จึงเป็นเสมือนดัชนีชี้วัดความเจริญรุ่งเรืองของประเทศต่างๆ ในโลกยุคปัจจุบันได้อีกทางหนึ่ง ยิ่งตอนนี้ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียนในอีก ไม่กี่ปีข้างหน้านี้ เรายิ่งต้องตระหนักถึงเรื่องนี้ให้มาก เพราะถ้ายังไม่มีอารยสถาปัตย์ในการปรับปรุง และพัฒนาบ้านเมือง เราก็จะไม่เป็นที่ยอมรับในเวทีโลก เพราะนั่นเท่ากับว่าเราไม่ดูแลไม่ใส่ใจผู้สูงอายุ ผู้พิการ รวมถึงผู้ป่วยพักฟื้น ยังมีการละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย์ แนวคิดของ Universal Design นั้นเป็นแนวคิดที่ดีควรนํามาประยุกต์ใช้ในสังคมไทยใหญ่ มากขึ้น เพราะเป็นการเปิดกว้างให้ทุกภาคสวนสมาชิกทุกคนได้อยู่ร่วมกันและยอมรับกันและ กันทามกลางความหลากหลายที่มีอยูโดยมีความเชื่อพื้นฐานวามนุษย์ทุกคนในโลกนี้เกิดมาเป็นคน เหมือนกันสังคมสวนรวมมีหนาที่ตองดูแลรับผิดชอบให้สมาชิกทุกคนอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข และเป็นสวนหนึ่งของชุมชนและสังคมสวนรวมได้อย่างเสมอภาคเทาเทียมกัน

วัตถุประสงค์
1.เพื่อสร้างแผนพัฒนาชุมชนตัวอย่างในการออกแบบ ปรับปรุงที่พักอาศัยให้รองรับสังคมผู้สูงอายุ
2.เพื่อเป็นศูนย์แสดง เผยแพร่ ให้ความรู้ และแสดงต้นแบบด้านการออกแบบภายใต้แนวคิด อารยสถาปัตย์ สำหรับชุมชนผู้สูงอายุ
3.เพื่อเป็นตัวอย่างต้นแบบที่สามารถเป็นแนวทางให้แก่อาคารอื่น ๆ ในจังหวัดอุบลราชธานี ใน จังหวัดอีสานตอนล่างและภูมิภาคลุ่มน้ำโขงตอนล่าง รวมทั้งชุมชนที่สนใจ

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
-ไม่มีข้อมูล
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
0 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
-ไม่มีข้อมูล

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2559
2560
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.ประชุมและวางแผนการดำเนินงาน --- --- --- 0.00
2.ลงพื้นที่เก็บข้อมูล --- --- --- 0.00
3.ดำเนินโครงการ --- --- --- 0.00
4.สรุปผลและรายงานผลการดำเนินงาน --- --- --- 0.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2559 - 30 กันยายน พ.ศ. 2560 รวมเวลา 365 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : -
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
0
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
0
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
0
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


-
การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 46,800.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 46,800.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 36,000.00 บาท )
1) จำนวน 5 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 1,200.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
36,000.00 บาท
-วิทยากรภายใน ( รวม 10,800.00 บาท )
1) จำนวน 3 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
10,800.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 27,800.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 9,800.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 5,000.00 บาท )
1) จำนวน 5 ครั้ง x จำนวน 2 คน x ครั้งละ 500.00 บาท
=
5,000.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 4,800.00 บาท )
1) จำนวน 5 วัน x จำนวน 4 วัน x วันละ 240.00 บาท
=
4,800.00 บาท

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 9,000.00 บาท )
1) จำนวน 6 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 60 คน
=
9,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 9,000.00 บาท )
1) จำนวน 3 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 60 คน
=
9,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 30,000.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 20,000.00 บาท )
1) ค่าวัสดุสำนักงาน
20,000 x 1 บาท
=
20,000 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 10,000.00 บาท )
1) ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์
10,000 x 1 บาท
=
10,000 บาท

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 104,600.00 บาท