แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2560
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ เกษตรอินทรีย์ วิถีเศรษฐกิจพอเพียง
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายการบริการวิชาการกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในด้านสังคมสูงวัย ด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษา ด้านการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ และการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
ดร.ทวีศักดิ์ วิยะชัย คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : พืชสวน
ประสบการณ์ : การผลิตไม้ดอกไม้ประดับ การขยายพันธุ์พืช การผลิตเห็ด การผลิตต้นอ่อนงอก
ความเชี่ยวชาญ : การปลูกพืชแบบไม่ใช้ดิน
หัวหน้าโครงการ
นายรักเกียรติ แสนประเสริฐ คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : พืชศาสตร์(ไม้ผล)
ประสบการณ์ : ระบบน้ำเพื่อการเกษตร
ความเชี่ยวชาญ : ขยายพันธุ์พืช การผลิตไม้ผล
ผู้ร่วมโครงการ
ผศ.ดร.บุญส่ง เอกพงษ์ คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : พืชสวน
ประสบการณ์ : การผลิตผัก
ความเชี่ยวชาญ : การผลิตผัก
ผู้ร่วมโครงการ
ดร.สุกัญญา คลังสินศิริกุล คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : กีฎวิทยา
ประสบการณ์ : การควบคุมแมลงผัก และศัตรูข้าว การควบคุมแมลงศัตรูพืชโโดยชีววิธี
ความเชี่ยวชาญ : การควบคุมแมลงศัตรูพืช การควบคุมแมลงศัตรูพืชโโดยชีววิธี
ผู้ร่วมโครงการ
นางนวลวรรณ แสนประเสริฐ คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : บริหารธุรกิจ
ประสบการณ์ : 15 ปี
ความเชี่ยวชาญ : พัสดุ
เหรัญญิก
นางสาวสมศรี ภูติยา คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา :
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
เลขานุการ

หลักการและเหตุผล
เกษตรอินทรีย์เป็นระบบการผลิตที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม โดยหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นปุ๋ยเคมี สารเคมีกำจัดศัตรูพืชและฮอร์โมนต่างๆ ตลอดจนไม่ใช้พืชหรือสัตว์ที่เกิดจากการตัดต่อทางพันธุกรรมซึ่งอาจนำไปสู่การปนเปื้อนของระบบนิเวศ เน้นการใช้อินทรียวัตถุ เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด และปุ๋ยชีวภาพ ในการปรับปรุงบำรุงดิน เพื่อให้ต้นพืชมีความแข็งแรง สามารถต้านทานโรคและแมลงด้วยตนเอง ผลผลิตที่ได้จากระบบเกษตรอินทรีย์จึงปลอดจากสารพิษตกค้าง ทำให้ปลอดภัยทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค รวมทั้งไม่ทำลายสภาพแวดล้อมด้วย อนึ่งปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานเพื่อเป็นแนวทางแก่ประชาชนให้การดำเนินชีวิตให้มีความพอเพียง พึ่งตนเองได้ ซึ่งจะทำให้การทำการเกษตรอินทรีย์มีความยั่งยืน มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีได้ส่งเสริมและสนับสนุนการเกษตรอินทรีย์มาอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามกลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ยังจำกัดอยู่ในจังหวัดอุบลราชธานี เพื่อส่งเสริมการเกษตรอินทรีย์ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น สอดคล้องกับวาระแห่งชาติเกษตรอินทรีย์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ซึ่งมีองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการทำเกษตรอินทรีย์ จึงเสนอโครงการบริการวิชาการ เพื่อส่งเสริมการทำเกษตรอินทรีย์ให้แพร่หลาย และพัฒนาการทำเกษตรอินทรีย์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

วัตถุประสงค์
1.ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีด้านเกษตรอินทรีย์
2.บูรณาการงานวิจัยด้านการเกษตรอินทรีย์เพื่อให้บริการวิชาการแก่เกษตรกร

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
เกษตรกรและประชาชนทั่วไป
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
40 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. ประชาสัมพันธ์ 2. รับสมัครผู้เข้าอบรม 3. จัดเตรียมโรงเรือน 4. จัดเตรียมเอกสารและวัสดุสำหรับฝึกอบรม 5. จัดฝึกอบรม 6. สรุปผลการดำเนินงาน

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2559
2560
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.ประชาสัมพันธ์ --- --- --- 1,000.00
2.รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ --- --- --- 0.00
3.จัดเตรียมโรงเรือนสาธิต --- --- 10,000.00
4.จัดเตรียมเอกสารและวัสดุสำหรับฝึกอบรม --- --- --- 20,000.00
5.ฝึกอบรม --- -- --- --- 38,000.00
6.สรุปผลการดำเนินงาน --- -- -- --- 2,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2560 - 5 มีนาคม พ.ศ. 2560 รวมเวลา 2 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
4 มีนาคม พ.ศ. 2560
9.00-12.00 ปฏิบัติการปลูกผักและทำปุ๋ยหมัก ผศ.ดร.บุญส่ง เอกพงษ์และดร.ทวีศักดิ์ วิยะชัย
4 มีนาคม พ.ศ. 2560
13.00-14.30 ปฏิบัติการระบบการให้น้ำแก่พืช นายรักเกียรติ แสนประเสริฐและดร.ทวีศักดิ์ วิยะชัย
4 มีนาคม พ.ศ. 2560
14.30-16.00 ปฏิบัติการเพาะต้นอ่อนงอก ดร.ทวีศํกดิ์ วิยะชัยและนายรักเกียรติ แสนประเสริฐ
5 มีนาคม พ.ศ. 2560
9.00-12.00 ปฏิบัติการป้องกันกำจัดศัตรูพืช ดร.สุกัญญา คลังสินศิริกุลและดร.ทวีศักดิ์ วิยะชัย
5 มีนาคม พ.ศ. 2560
13.00-15.00 ปฏิบัติการเพาะเห็ดอย่างง่าย ดร.ทวีศักดิ์ วิยะชัยและนายรักเกียรติ แสนประเสริฐ
5 มีนาคม พ.ศ. 2560
15.00-16.00 การตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ วิทยากรภายนอก

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : สร้าางเครือข่ายผู้ผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์
ด้านสังคม : เพิ่มศักยภาพด้านการเกษตรของชุมชนและสังคม
ด้านสิ่งแวดล้อม : ลดการใช้สารเคมี รักษาสิ่งแวดล้อม
ด้านอื่นๆ : สนองนโยบายด้านเกษตรอินทรีย์ของจังหวัดอุบลราชธานี

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
40
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
รักษาสุขภาพของผู้ผลิต ผู้บริโภคและรักษาสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา การผลิตผักพื้นบ้าน
หลักสูตร เกษตรศาสตร์ 2560
นักศึกษาชั้นปี : 3
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน นำเนื้อหาสอดแทรกเข้าในวิชาการผลิตผักพื้นบ้าน
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 22,800.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 15,600.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 1,200.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 1 ชม. x ชม.ละ 1,200.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
1,200.00 บาท
-วิทยากรภายใน ( รวม 14,400.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
14,400.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 7,200.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 3,000.00 บาท )
1) จำนวน 5 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
3,000.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 4,200.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 5 คน
=
4,200.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 26,120.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 5,120.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 2,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 ครั้ง x จำนวน 1 คน x ครั้งละ 1,000.00 บาท
=
2,000.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 2,400.00 บาท )
1) จำนวน 2 คืน x จำนวน 1 ห้อง x ห้องละ 1,200.00 บาท
=
2,400.00 บาท
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 720.00 บาท )
1) จำนวน 3 วัน x จำนวน 1 วัน x วันละ 240.00 บาท
=
720.00 บาท

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 6,000.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 30.00 บาท x จำนวน 50 คน
=
6,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 8,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 80.00 บาท x จำนวน 50 คน
=
8,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 7,000.00 บาท )
1) เอกสารประกอบการฝึกอบรม
=
5,000.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมาจัดทำระบบควบคุมการให้น้ำ
=
2,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 22,080.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 250.00 บาท )
1) ปากกา
50 x 5 บาท
=
250 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 1,000.00 บาท )
1) ป้าย
1 x 1,000 บาท
=
1,000 บาท

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 4,000.00 บาท )
1) หมึกพิมพ์ เครื่องบันทึกข้อมูล
2 x 2,000 บาท
=
4,000 บาท

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 1,000.00 บาท )
1) แก๊สหุงต้ม น้ำมัน
2 x 500 บาท
=
1,000 บาท

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 15,830.00 บาท )
1) วัสดุการเกษตร
=
10,000.00 บาท
2) วัสดุงานบ้านงานครัว
=
830.00 บาท
3) วัสดุก่อสร้าง
=
2,000.00 บาท
4) วัสดุวิทยาศาสตร์
=
2,000.00 บาท
5) วัสดุไฟฟ้า
=
1,000.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 71,000.00 บาท