แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2560
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ การเผยแพร่ความรู้ทางด้านทรัพยากรประมงและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ครั้งที่ 1
ลักษณะโครงการ การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายการบริการวิชาการกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในด้านสังคมสูงวัย ด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษา ด้านการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ และการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายชำนาญ แก้วมณี คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : ประมง
ประสบการณ์ : งานการเรียน-การสอนด้านประมง งานวิจัยด้านประมง งานฝึกอบรมด้านประมง
ความเชี่ยวชาญ : ด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
หัวหน้าโครงการ
ผศ.ดร.ธนาทิพย์ แหลมคม คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
ประสบการณ์ : การเพาะและขยายพันธุ์สัตว์น้ำ คุณภาพน้ำ
ความเชี่ยวชาญ : การเพาะและขยายพันธุ์สัตว์น้ำ คุณภาพน้ำ สรีรวิทยาสัตว์น้ำ
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
จากการที่สาขาวิชาประมงและฟาร์มประมง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ได้ดำเนินงานวิจัย งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และ การบริการวิชาการ ในรูปแบบบูรณาการที่เกี่ยวข้องกับการสำรวจทรัพยากรประมงในแหล่งน้ำธรรมชาติและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อชุมชนและประชาชนในพื้นที่อิสานใต้ การเผยแพร่ความรู้ในรูปแบบการจัดนิทรรศการต่อสาธารณะจึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง รวมทั้งเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ เพื่อเป็นแนวทางการพัฒนงานการเรียนการสอนและการวิจัยทางด้านประมงต่อไป

วัตถุประสงค์
1.เพื่อเผยแพร่ความรู้ทางด้านงานวิจัยทรัพยากรประมงในพื้นที่อิสานใต้
2.เพื่อเผยแพร่ความรู้ทางด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
ประชาชนผู้สนใจเข้าเยี่ยมชม อย่างน้อย 50 คนต่อวัน จำนวน 10 วัน
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
500 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1.การจัดนิทรรศการมีชีวิตทรัพยากรประมงในพื้นที่อิสานใต้ 2.การจัดนิทรรศการมีชีวิตของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 3.การจัดนักวิจัยและนักศึกษาให้ความรู้และตอบข้อซักถามให้กับประชาชนผู้สนใจทุกวัน 4.การเผยแพร่งานวิจัยเชิงสาธารณะของนักวิจัยและนักศึกษา 5.การฝึกนักศึกษาให้สามารถเผยแพร่ความรู้ และเรียนรู้จากการเตรียมสาธิตการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2559
2560
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.การจัดนิทรรศการมีชีวิตทรัพยากรประมงในพื้นที่อิสานใต้ -- - --- --- 35,000.00
2.การจัดนิทรรศการมีชีวิตของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ - --- --- 40,000.00
3.การจัดนักวิจัยและนักศึกษาให้ความรู้และตอบข้อซักถามให้กับประชาชนผู้สนใจทุกวัน --- -- --- --- 5,000.00
4.การเผยแพร่งานวิจัยเชิงสาธารณะของนักวิจัยและนักศึกษา - --- 5,000.00
5.การฝึกนักศึกษาให้สามารถเผยแพร่ความรู้ และเรียนรู้จากการเตรียมสาธิตการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ -- --- 5,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 - 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 รวมเวลา 11 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
09.00-16.00 การให้ความรู้พื้นฐานด้านการเลี้ยงสัตว์น้ำ นายชำนาญ แก้วมณี และ ผศ.ดร.ธนาทิพย์ แหลมคม
7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
09.00-16.00 การเตรียมความพร้อมสำหรับการเลี้ยงสัตว์น้ำเบื้องต้น นายชำนาญ แก้วมณี และ ผศ.ดร.ธนาทิพย์ แหลมคม
8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
09.00-16.00 การให้ความรู้ทางด้านการเตรียมอาหารสัตว์น้ำอย่างง่าย นายชำนาญ แก้วมณี และ ผศ.ดร.ธนาทิพย์ แหลมคม
9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
09.00-16.00 การสาธิตการเตรียมอาหารสัตว์น้ำอย่างง่าย นายชำนาญ แก้วมณี และ ผศ.ดร.ธนาทิพย์ แหลมคม
10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
09.00-16.00 การให้ความรู้ทางด้านคุณภาพน้ำในบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ นายชำนาญ แก้วมณี และ ผศ.ดร.ธนาทิพย์ แหลมคม
11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
09.00-16.00 การสาธิตการวิเคราะห์คุณภาพน้ำในบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำแบบใช้ชุดคิท นายชำนาญ แก้วมณี และ ผศ.ดร.ธนาทิพย์ แหลมคม
12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
09.00-16.00 การให้ความรู้ทางด้านการเลี้ยงปลานิลแปลงเพศ นายชำนาญ แก้วมณี และ ผศ.ดร.ธนาทิพย์ แหลมคม
13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
09.00-16.00 การวางแผนการเลี้ยงปลานิล นายชำนาญ แก้วมณี และ ผศ.ดร.ธนาทิพย์ แหลมคม

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : 1.นักวิจัยและนักศึกษาสามารถเผยแพร่ผลงานทางวิชาการทางด้านทรัพยากรประมงให้กับประชาชน 2.ประชาชนมีความรู้และเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับทรัพยากรประมงในพื้นที่อิสานใต้ 3.ประชาชนมีความรู้และสามารถนำความรู้ไปใช้พัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำได้
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
500
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
60
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา เทคโนโลยีเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
หลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาประมง
นักศึกษาชั้นปี : 3
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน การนำเสนอผลงานทางด้านประมงในรูปแบบนิทรรศการ
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด นักศึกษาวางแผน และดำเนินงานเตรียมนิทรรศการเผยแพร่งานทางประมงในพื้นที่จริง
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ การให้นักศึกษาสามารถวางแผนและการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ด้วยตนเอง

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 7,000.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 7,000.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 7,000.00 บาท )
1) จำนวน 10 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
2,000.00 บาท
2) จำนวน 10 วัน x จำนวน 5 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
5,000.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 44,080.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 11,080.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 7,200.00 บาท )
1) จำนวน 2 ครั้ง x จำนวน 2 คน x ครั้งละ 1,800.00 บาท
=
7,200.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 1,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 คืน x จำนวน 1 ห้อง x ห้องละ 500.00 บาท
=
1,000.00 บาท
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 2,880.00 บาท )
1) จำนวน 4 วัน x จำนวน 3 วัน x วันละ 240.00 บาท
=
2,880.00 บาท

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 5,000.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 50 คน
=
5,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 28,000.00 บาท )
1) ค่าติดตั้งระบบลมและระบบไฟ
=
5,000.00 บาท
2) ค่าติดตั้งระบบน้ำและการเตรียม
=
5,000.00 บาท
3) การดูแลตัวอย่างสัตว์น้ำ
=
5,000.00 บาท
4) ค่าซ่อมแซมอุปกรณ์ตู้ปลา ระบบไฟ และ ขาตั้งตู้กระจก
=
8,000.00 บาท
5) ค่าจ้างเหมาจัดเตรียมเอกสารและโปสเตอร์
=
5,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 38,920.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 2,500.00 บาท )
1) ค่าวัสดุสำนักงาน
50 x 50 บาท
=
2,500 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 4,000.00 บาท )
1) ค่าป้ายไวนิลและโปสเตอร์
5 x 800 บาท
=
4,000 บาท

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 2,500.00 บาท )
1) ค่าหมึกคอมพิวเตอร์
1 x 2,500 บาท
=
2,500 บาท

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 2,000.00 บาท )
1) ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง
2 x 1,000 บาท
=
2,000 บาท

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 27,920.00 บาท )
1) ค่าวัสดุอุปกรณ์เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
=
12,000.00 บาท
2) ค่าถ่ายเอกสาร
=
2,720.00 บาท
3) ค่าพันธุ์ปลา
=
10,000.00 บาท
4) ค่าอาหารปลา
=
3,200.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 90,000.00 บาท