แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2556
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ โครงการศึกษาสุขภาวะและให้บริการวิชาการโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
ลักษณะโครงการ การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
ยังไม่ได้เพิ่มมาตรการ
นโยบาย : โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านสุขภาพ อนามัยของชุมชน
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นางรวีวรรณ เผ่ากัณหา คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : การบริหารการศึกษา
ประสบการณ์ : สอน วิจัย ด้านการพยาบาลและการพยาบาลผู้สูงอายุ
ความเชี่ยวชาญ : การพยาบาลผู้สูงอายุ
หัวหน้าโครงการ

หลักการและเหตุผล
คณะพยาบาลศาสตร์ มีเป้าหมายในการสร้างพยาบาลของชุมชน โดยกำหนดอัตลักษณ์ของคณะคือ นักศึกษามีจิตสำนึกต่อท้องถิ่น มีความเป็นผู้นำและการทำงานเป็นทีม มีศักยภาพการทำงานในชุมชน จึงเน้นให้นักศึกษาชุมชน เข้าใจปัญหา วิถีชีวิตชุมชน ไวต่อต่อการแก้ปัญหา สามารถให้บริการวิชาการแก่ชุมชนได้สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยผ่านกระบวนการเรียนการสอนตลอดระยะเวลาที่ศึกษาตั้งแต่ชั้นปีที่1 คณะฯจึงจัดให้มีโครงการศึกษาสุขภาวะชุมชนและให้บริการวิชาการที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน เพื่อให้นักศึกษาพยาบาล อาจารย์ บุคลากรได้ร่วมให้บริการวิชาการในการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนในชุมชนที่คัดสรร และนักศึกษาได้เรียนรู้ชุมชนจาการร่วมให้บริการวิชาการ การฝึกปฏิบัติการพยาบาล รวมทั้งการให้การดูแลพ่อแม่อุปถัมภ์ซึ่ง ที่คัดเลือกครอบครัวในชุมชนและมอบให้นักศึกษาแต่ละให้การดูแลอย่างต่อเนื่อง

วัตถุประสงค์
1.1.ศึกษาสุขภาวะของครอบครัวและชุมชน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างนักศึกษาพยาบาล อาจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์และชุมชนเครือข่าย 2.เพื่อให้บริการวิชาการด้านสุขภาพ ตามความต้องการของชุมชน โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นบนพื้นฐานความพอเพียง

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
1.นักศึกษาพยาบาล 92 คน 2. ครอบครัวอุปถัมป์ 92ครอบครัว 3.อาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์ 4.บุคลากรของศูนย์สุขภาพชุมชนที่อบต.ธาตุและเทศบาลเมืองศรีไค 5.กลุ่มอสม. ผู้นำชุมชน และบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 6.กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง นักเรียน ในเขตเทศบาลเมืองศรีไคและบ้านบัววัด
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
863 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1.เขียนโครงการเสนอขออนุมัติ 2.แต่งตั้งคณะกรรมการทำงาน 3.ประชุมคณะทำงานเตรียมการดำเนินงาน 4.ขออนุมัติทดรองจ่าย ประชาสัมพันธ์โครงการ 6.เตรียมสถานที่ 7.ดำเนินการตามแผน 8.ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน 9.ประเมินผลโครงการ 10.จัดทำใบสำคัญเบิกจ่ายโครงการ 11.จัดทำสรุปรายงาน

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2555
2556
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 21 กันยายน พ.ศ. 2555 รวมเวลา 7 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
10 มีนาคม พ.ศ. 2551
8.00-16.00 อบรมอสม. นักศึกษาและอาจารย์ เกี่ยวกับเครื่องมือในการเก็บข้อมูลสุขภาพชุมชน อ.นนิชนันท์ สุวรรณกูฎและคณะ
9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
8.00-17.00 อบรมนักเรียนเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่พบบ่อยในเด็กวัยเรียน อ.นันท์นภัสและคณะ
28 เมษายน พ.ศ. 2555
8.00-16.00 อบรมผู้สูงอายุ ผู้ดูแล เกี่ยวกับการดูแลตนเอง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดูแลตนเองของผู้สูงอายุ การใช ดร.รวีวรรณ เผ่ากัณหา และคณะ
23 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
8.00-16.00 อบรมผู้ป่วยเรื้อรังและผู้ดูแล โยใช้นวัตกรรมการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง ดร.รวีวรรณ เผ่ากัณหาและคณะ
30 มิถุนายน พ.ศ. 2555
8.00-16.00 กิจกรรมเยี่ยมครอบครัวอุปถัมภ์ คณาจารย์คณะพยาบาลและนักศึกษา
21 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
7.00-18.00 ถอดบทเรียน สรุปและประเมินผลโครงการ ดร.สุรีย์ ธรรมิกบวรและคณะ
1 ตุลาคม พ.ศ. 2555
8.00-17.00 เตรียมบุคลาการ อาจารย์ และเครื่องมือศึกษาชุมชน ดร.รวีวรรณ เผ่ากัณหา อ.นั้นนภัส สิทธิโกศล

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : -คณาจารย์พัฒนาทักษะในการทำงานในชุมชน -ได้ฐานข้อมูลสุขภาพชุมชน -ได้องค์ความรู้ด้านสุขภาพชุมชน -นักศึกษาได้เรียนรู้จากสภาพจริง ครอบครัวและชุมชนได้รับบริการ ส่งเสริมสุขภาพ
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -คณะพยาบาลศาสตร์ได้ให้บริการวิชาการแก่ชุมชน

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
-863
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
-80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
-80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-มีความคุ้มค่า โดยใช้งบประมาณ 388 บาทต่อคน

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา ฝึกปฏิบัติการพยาบาลครอบครัวและชุมชน1 วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ 1
หลักสูตร พยาบาลศาสตรบัณฑิต
นักศึกษาชั้นปี : 2
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน สอดแทรกเนื้อหาใน 3 รายวิชา
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด นักศึกษา เข้าร่วมโครงการ 4 ครั้ง และ ติดตามเยี่ยมครอบครัวอุปถัมภ์
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ นักศึกษาจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่ประยุกต์ภูมิปัญญาท้องถิ่น และพัฒนานวัตกรรมการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 53,200.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 25,200.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 25,200.00 บาท )
1) จำนวน 3 วัน x จำนวน 2 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
10,800.00 บาท
2) จำนวน 3 วัน x จำนวน 2 ชม. x ชม.ละ 300.00 บาท x จำนวน 8 คน
=
14,400.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 28,000.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 10,000.00 บาท )
1) จำนวน 10 วัน x จำนวน 2 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 10 คน
=
10,000.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 18,000.00 บาท )
1) จำนวน 10 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 10 คน
=
18,000.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 156,000.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 33,000.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 9,000.00 บาท )
1) จำนวน 6 ครั้ง x จำนวน 50 คน x ครั้งละ 30.00 บาท
=
9,000.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 24,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 คืน x จำนวน 15 ห้อง x ห้องละ 800.00 บาท
=
24,000.00 บาท
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 50,800.00 บาท )
1) จำนวน 9 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 180 คน
=
40,500.00 บาท
2) จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 180 คน
=
9,000.00 บาท
3) จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 26 คน
=
1,300.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 56,600.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 180 คน
=
36,000.00 บาท
2) จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 100.00 บาท x จำนวน 180 คน
=
18,000.00 บาท
3) จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 100.00 บาท x จำนวน 26 คน
=
2,600.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 15,600.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาจัดทำฐานข้อมูล
=
10,600.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมาจัดทำสรุปรายงาน
=
5,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 126,000.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 126,000.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
20,000 แผ่น x 0.50 บาท
=
10,000.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
40,000.00 บาท
=
40,000.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
20,000.00 บาท
=
20,000.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
56 คน x 1,000.00 บาท
=
56,000.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 335,200.00 บาท