แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2560
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ ค่ายเกษตรสำหรับเยาวชน
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายการบริการวิชาการกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในด้านสังคมสูงวัย ด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษา ด้านการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ และการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนและการยกระดับคุณภาพการศึกษา
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายประพนธ์ บุญเจริญ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : พืชศาสตร์(การผลิตพืชไร่ )
ประสบการณ์ : 1.การวิจัยด้านการจัดการพืชอาหารสัตว์ แบบยั่งยืน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2.การวิจัยด้านการจัดการพืชอาหารสัตว์ ในสภาพพื้นที่ลุ่มน้ำท่วมขัง 3.การวิจัยด้านเทคนิคการจัดการพืชอาหารสัตว์ ในสภาพแปลงหญ้าผสมถั่วพืชอาหารสัตว์
ความเชี่ยวชาญ : ด้านพืชอาหารสัตว์ และด้านการผลิตข้าว
หัวหน้าโครงการ
นายรักเกียรติ แสนประเสริฐ คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : พืชศาสตร์(ไม้ผล)
ประสบการณ์ : ระบบน้ำเพื่อการเกษตร
ความเชี่ยวชาญ : ขยายพันธุ์พืช การผลิตไม้ผล
ผู้ร่วมโครงการ
นายประสิทธิ์ กาญจนา คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : เกษตรศาสตร์ (พืชศาสตร์)
ประสบการณ์ : 1.หัวหน้าโครงการอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตยางพารา 10 ปีทำงานวิจัยทางด้านยางพารา 8 ปีที่ปรึกษานิคมยางพาราในพื้นที่ปฏิรูปที่ดินของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมกรรมการตรวจการจ้างต้นพันธุ์ยางพาราของกรมวิชาการเกษตรกรรมการศูนย์เรียนรู้ยางพาราของสถาบันวิจัยยางกรมวิชาการเกษตรที่ปรึกษาสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยางที่ปรึกษากลุ่ม/เครือข่ายยางพาราจังหวัดอุบลราชธานีวิทยากรทางด้านยางพารากรรมการหลักสูตรสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการยาง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลฯและเป็นอาจารย์พิเศษสอนวิชาหลักการผลิตยางธรรมชาติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลฯ 2.หัวหน้าโครงการวิจัยปาล์มน้ำมัน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ความเชี่ยวชาญ : 1.ระบบการผลิตยางพารา 2.ระบบตลาดยางพารา 3.ระบบการผลิตปาล์มน้ำมัน
ผู้ร่วมโครงการ
นายอินทร์ ศาลางาม คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : เกษตรศาสตร์(สัตวศาสตร์)
ประสบการณ์ : 19 ปี
ความเชี่ยวชาญ : ด้านการผลิตสุกรและสัตว์ปีก
ผู้ร่วมโครงการ
นางนิภาพรรณ สิงห์ทองลา คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : วท.บ เกษตรศาสตร์
ประสบการณ์ : การทำงานในห้องปฏิบัติการงานอุตสาหกรรมเกษตร
ความเชี่ยวชาญ : การตรวจคุณภาพทางห้องปฏิบัติการ
ผู้ร่วมโครงการ
นายวันชัย อินทิแสง คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : สัตวศาสตร์
ประสบการณ์ : 17
ความเชี่ยวชาญ : การผลิตดคนม
ผู้ร่วมโครงการ
นายชำนาญ แก้วมณี คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : ประมง
ประสบการณ์ : งานการเรียน-การสอนด้านการประมง งานฝึกอบรมด้านการประมง งานวิจัยด้านการประมง
ความเชี่ยวชาญ : งานด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
ผู้ร่วมโครงการ
นายสมชาย พละสาร คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา :
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
ผู้ร่วมโครงการ
นายวิชาญ แก้วเลื่อน คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : เคมี
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ : วิเคราะห์อาหารสัตว์
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวนพมาศ นามแดง คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์)
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
ผู้ร่วมโครงการ
นายศุภกร สีสันต์ คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : เทคโนโลยีการเกษตร
ประสบการณ์ : หัวหน้าโครงการเปิดฟาร์มและห้องปฏิบัติการในสัปดาห์วิทยาศาสตร์ ปี 2554
ความเชี่ยวชาญ : -
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวจำนงค์ จันทะสี คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาตร์)
ประสบการณ์ : - ผู้ช่วยนักวิจัย ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโโดยชีวินทรีย์แ่ห่งชาติ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง - เจ้าหน้าที่ประจำสำนักงานชุดโครงการ การพัฒนาไก่พื้นเมือง สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
ความเชี่ยวชาญ : โรคพืช วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว
ผู้ร่วมโครงการ
นายนายวีระพงษ์ บัวเขียว คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา :
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
ผู้ร่วมโครงการ
นายบรรพต คชประชา คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : วท.บ(พืชสวน)
ประสบการณ์ : นักวิชาการพืชสวน
ความเชี่ยวชาญ : การเพาะเห็ด
ผู้ร่วมโครงการ
ดร.ทวีศักดิ์ วิยะชัย คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : พืชสวน
ประสบการณ์ : การผลิตไม้ดอกไม้ประดับ การขยายพันธุ์พืช การผลิตเห็ด การผลิตต้นอ่อนงอก
ความเชี่ยวชาญ : การปลูกพืชแบบไม่ใช้ดิน
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวสมศรี ภูติยา คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา :
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
ผู้ร่วมโครงการ
นายนันทวัฒน์ ชูสกุล คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา :
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
ผู้ร่วมโครงการ
ผศ.พิทักษ์ สิงห์ทองลา คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : พืชสวน
ประสบการณ์ : ด้านพืชผักเศรษฐกิจ
ความเชี่ยวชาญ : การผลิตผักใช้ดินและไม่ใช้ดิน
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
คณะ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ได้เล็งเห็นความสำคัญของการประกอบอาชีพทางด้านการเกษตร ซึ่งเป็นอาชีพพื้นฐานของประชาชนคนไทย โดยเฉพาะในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แต่เนื่องจากในปัจจุบันการถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรได้ถ่ายทอดให้กับกลุ่ม เป้าหมายหลายระดับ แต่การกระจายตัวของเทคโนโลยียังไม่แพร่หลายเท่าที่ควร คณะเกษตรศาสตร์จึงพิจารณาเห็นว่าในการถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรน่าจะมี การปรับเปลี่ยนกลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนในระดับมัธยมต้นและมัธยมปลาย ซึ่งเป็นเยาวชนที่จะมีโอกาสไปเป็นผู้ประกอบการที่เข้มแข็ง และเป็นผู้นำในการถ่ายทอดอาชีพการเกษตรได้ดี ดังนั้นเพื่อเป็นการสนับสนุนให้นักเรียนในระดับมัธยมต้นและมัธยมปลายได้มีโอกาสในการเรียนรู้และทดลองปฏิบัติงานทางด้านวิทยาศาสตร์การเกษตร และฝึกฝนการอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม คณะเกษตรศาสตร์จึงได้จัดให้มีค่ายเกษตรสำหรับเยาวชนขึ้นในช่วงปิดภาคฤดูร้อน และเป็นการกระตุ้นให้เยาวชนของชาติได้ตระหนักถึงการพัฒนาอาชีพทางการเกษตรที่หล่อเลี้ยงชีวิตให้เจริญเติบโตคู่กับสังคมไทยตลอดมา

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์การเกษตร เพื่อปลูกฝังให้เยาวชนมีทรรศนะคติที่ดีต่อการศึกษาทางด้านเกษตรกรรม และการประกอบอาชีพเป็นเกษตรกร เพื่อฝึกการอยู่ร่วมกันเป็นหมู่คณะ ตลอดจนสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีกับโรงเรียนใน เขตบริการ และจังหวัดใกล้เคียง

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
โรงเรียนในเขตบริการของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และจังหวัดใกล้เคียง
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
80 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
การฝึกอบรมมีทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ การผลิตพืชไร่ การผลิตพืชสวน การผลิตโคนม การผลิตสัตว์ปีก การเพาะพันธุ์สัตว์น้ำปฏิบัติการอุตสาหกรรมการเกษตร ปฏิบัติการประมง ปฏิบัติการพืชไร่ พืชสวน และปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ปฏิบัติการอาหารสัตว์

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2559
2560
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1..ส่งเอกสารประชาสัมพันธ์ - --- --- --- 5,000.00
2.รับสมัครผู้เข้าอบรม --- -- --- 5,000.00
3..เตรียมเอกสาร วัสดุฝึกอบรม --- - - --- 25,000.00
4.จัดฝึกอบรม --- --- -- --- 161,500.00
5.สรุปผลการดำเนินงาน --- --- -- - 3,500.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2559 - 30 กันยายน พ.ศ. 2560 รวมเวลา 365 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
22 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
08.00-09.00 ลงทะเบียน น.ส.สมศรี ภูติยา
22 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
09.00-09.30 พิธีเปิด คณบดี
22 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
10.00-12.00 เยี่ยมชมมหาวิทยาลัย/ฟาร์ม นายประพนธ์ บุญเจริญ และคณะ
22 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
13.00-16.30 แนะนำงานสายอาชีพเกษตร วิทยากรคณาจารย์และศิษย์เก่า
22 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
19.00-21.00 กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ วิทยากรงานกิจการนักศึกษา
23 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
19.00-21.00 ปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ปฏิบัติการอาหารสัตว์ นายวีรพงษ์ บัวเขียว และคณะ , นายวิชาญ แก้วเลื่อน
23 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
13.00-16.30 ปฏิบัติการอุตสาหกรรมการเกษตร ปฏิบัติการประมง ปฏิบัติการพืชไร่ และพืชสวน นางนิภาพรรณ สิงห์ทองลา นายศุภกร สีสันต์ น.ส.จำนงค์ จันทะสี และน.ส.นพมาศ นามแดง
23 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
9.00-12.00 การผลิตโคนม การผลิตสัตว์ปีก การเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ นายวันชัย อินทิแสง นายอินทร์ ศาลางาม นายชำนาญ แก้วมณี
23 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
9.00-12.00 การผลิตพืชไร่ การผลิตพืชสวน นายประพนธ์ บุญเจริญ นายประสิทธิ์ กาญจนา นายรักเกียรติ แสนปเสริฐ นายบรรพต คตประชา และนายทวีศักดิ์ วิย
24 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
09.00-12.00 การผลิตพืชไร่ การผลิตพืชสวน นายประพนธ์ บุญเจริญ นายประสิทธิ์ กาญจนา นายรักเกียรติ แสนปเสริฐ นายบรรพต คตประชา และนายทวีศักดิ์ วิย
24 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
9.00-12.00 การผลิตโคนม การผลิตสัตว์ปีก การเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ นายวันชัย อินทิแสง นายอินทร์ ศาลางาม นายชำนาญ แก้วมณี
24 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
13.00-16.30 ปฏิบัติการอุตสาหกรรมการเกษตร ปฏิบัติการประมง ปฏิบัติการพืชไร่ และพืชสวน นางนิภาพรรณ สิงห์ทองลา นายศุภกร สีสันต์ น.ส.จำนงค์ จันทะสี และน.ส.นพมาศ นามแดง
24 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
19.00-21.00 กิจกรรมเหมือนเดิมตั้งแต่ วันที่23 -26 พ.ค.2560

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : นักเรียนที่ผ่านการอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประกอบอาชีพเสริมได้ เช่น การแปรรูปอาหาร การเพาะเห็ด การขยายพันธุ์พืช หรือการผสมเทียมปลา เป็นต้น
ด้านสังคม : นักเรียนที่ผ่านการอบรมมีความรู้ด้านเทคโนโลยีการเกษตรขั้นพื้ฐานสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
ด้านสิ่งแวดล้อม : _
ด้านอื่นๆ : _

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
80
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
90
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา 1202 348 ผักเศรษฐกิจ (Economic Vegetable Crop)
หลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต เกษตรศาสตร์
นักศึกษาชั้นปี : ชั้นปีที่ 2 ,3 และ4
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน การทำงานด้วยตัวเอง โดยความมานะ อดทน รวมทั้งการทำงานเป็นทีมและทำงานร่วมกับผู้อื่น
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด มอบหมายนักศึกษาเพื่อให้ร่วมบริการวิชาการโดยจัดให้นักศึกษาเป็นพี่เลี้ยงดูแลนักเรียนที่เข้าอบรมเป็นกลุ่มย่อย
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ มอบหมายนักศึกษาจัดทำแบบประเมินการฝึกอบรม

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 41,100.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 33,300.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 33,300.00 บาท )
1) จำนวน 3 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 300.00 บาท x จำนวน 11 คน
=
29,700.00 บาท
2) จำนวน 3 วัน x จำนวน 2 ชม. x ชม.ละ 300.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
3,600.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 7,800.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 7,800.00 บาท )
1) จำนวน 5 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 5 คน
=
5,000.00 บาท
2) จำนวน 4 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
2,800.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 147,770.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 28,000.00 บาท )
1) จำนวน 10 มื้อ x มื้อละ 35.00 บาท x จำนวน 80 คน
=
28,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 119,770.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาซักชุดเครื่องนอน (80ชุดx100บาท)
=
8,000.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมานักศึกษาช่วยงาน (8 คน x 1000 บาท)
=
8,000.00 บาท
3) ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารอบรมฯ (80 เล่ม x 130 บาท)
=
10,400.00 บาท
4) ค่าประกันชีวิต (80 x 17 บาท x 1วัน)
=
1,360.00 บาท
5) ค่าอาหารและเครื่องดื่ม ตลอดการฝึกอบรมฯเช้า-กลางวัน-เย็น(80 คน x180 บาท x 5 วัน)
=
72,000.00 บาท
6) วัสดุฝึกอบรมฯ (13 คน x 1539 บาท)
=
20,010.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 11,130.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 5,680.00 บาท )
1) วัสดุสำนักงาน (จ่ายตามจริง)
80 x 71 บาท
=
5,680 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 2,000.00 บาท )
1) วัสดุโฆษณาประชาสัมพันธุ์
2 x 1,000 บาท
=
2,000 บาท

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 3,450.00 บาท )
1) วัสดุเขื้อเพลิง น้ำมันดีเซล
138 x 25 บาท
=
3,450 บาท

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 200,000.00 บาท