แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2560
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ อบรมเขียนโปรแกรมระบบควบคุมอัตโนมัติในการเกษตร
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายการบริการวิชาการกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในด้านสังคมสูงวัย ด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษา ด้านการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ และการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนและการยกระดับคุณภาพการศึกษา
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายสมนึก เวียนวัฒนชัย คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : อิเล็กทรอนิกส์โทรคมนาคม
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
หัวหน้าโครงการ
นายผดุง กิจแสวง คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
ประสบการณ์ : วิจัยและสอนปฏิบัติการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 18 ปี
ความเชี่ยวชาญ : - Microcontroller application - Embebded system - PLC application - Electrical Machine Drive and Control
ผู้ร่วมโครงการ
นายอุทัย สุขสิงห์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : RS & GIS
ประสบการณ์ : อาจารย์สอนในมหาวิทยาลัย 30 ปี
ความเชี่ยวชาญ : GIS Electronic Programcomputer Microcontrol
ผู้ร่วมโครงการ
นายวิชชุกร อุดมรัตน์ คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : สาขาไฟฟ้า
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
ผู้ร่วมโครงการ
นายภูมิพัฒน์ โทจันทร์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : วิศวกรรมไฟฟ้า
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
จากปัญหาราคาผลผลิตที่ตกต่ำและการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสภาวะอากาศเป็นผลทำให้เกิดสภาวะน้ำท่วมและภัยแล้งซึ่งเกิดขึ้นเป็นประจำและรุ่นแรงขึ้นเลยๆ ส่งผลถึงการวางแผนการเพาะปลูกของเกษตรกรและปริมาณผลผลิต จึงมีระบบติดตามและเตือนภัยทางด้านเกษตรกรรม (Agritronics) ระบบนี้จะทำการวัดและรวบรวมข้อมูลสภาพแวดล้อมในการทำเกษตรกรรม เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์ถึงสภาพแวดล้อมต่างๆ ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการพัฒนาบุคคลากรที่มีความรู้ทางด้านระบบอิเล็กทรอนิกส์ทางการเกษตรเพื่อคนไทยเอง เป็นการตัดปัญหาด้านต้นทุน และพัฒนากระบวนการผลิตไปในตัว ซ้ำยังเป็นการเพิ่มงานทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ให้มีมากขึ้นในประเทศไทยอีกด้วย ซึ่งประเทศน้อยรายนักที่สามารถพัฒนาและมีระบบเกษตรอิเล็กทรอนิกส์ของตนเอง แน่นอนว่าเมื่อประเทศไทยตื่นตัวและหันมาเอาดีทางนี้ก่อนประเทศต่างๆบวกกับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เชื่อว่าไม่นานประเทศไทยจะกลายเป็นศูนย์กลางของการเกษตรอิเล็กทรอนิกส์เป็นแน่

วัตถุประสงค์
1.1.เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้การเขียนโปรแกรมในงานควบคุมอัตโนมัติในการเกษตร
2.2.เพื่อถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับระบบติดตามและเตือนภัยทางด้านเกษตรกรรม (Agritronics)

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
ครู-อาจารย์นักเรียนมัธยมศึกษาเขตพื้นที่รับผิดชอบมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (อีสาน) และโรงเรียนในเครือข่ายรอบมหาวิทยาลัย 24 แห่ง
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
40 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
ขออนุมัติดำเนินโครงการฯ 2. ตั้งคณะกรรมการดำเนินงานฯ 3. ประชาสัมพันธ์โครงการฯและรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการฯ 4. ติดต่อผู้เข้าร่วมฝึกอบรมและวิทยากร 5. จัดซื้อวัสดุ/เตรียมอุปกรณ์ 6. จัดฝึกอบรมตามโครงการฯ 7. ประเมินผลโครงการฯ 8. สรุปและจัดทำรายงานของโครงการฯ

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2559
2560
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.ขออนุมัติดำเนินโครงการฯ - --- --- --- 0.00
2.ตั้งคณะกรรมการดำเนินงานฯ - --- --- --- 0.00
3.ประชาสัมพันธ์โครงการฯและรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการฯ -- - --- --- 0.00
4.ติดต่อผู้เข้าร่วมฝึกอบรมและวิทยากร --- - --- --- 0.00
5.จัดซื้อวัสดุ/เตรียมอุปกรณ์ --- - -- --- 97,000.00
6.จัดฝึกอบรมตามโครงการฯ --- - -- --- 0.00
7.ประเมินผลโครงการฯ --- -- -- --- 0.00
8.สรุปและจัดทำรายงานของโครงการฯ --- -- -- --- 0.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 - 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 รวมเวลา 2 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
09.00 -10.30 พื้นฐานวงจรอิเล็กทรอนิกส์และเซนเซอร์ นายผดุง กิจแสวง
18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
10.45 - 12.00 พื้นฐานไมโครคอนโทรลเลอร์และพื้นฐานการเขียนโปรแกรม นายผดุง กิจแสวง
18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
13.00 - 14.30 เขียนโปแกรมรับค่าจากเซนเซอร์ นายผดุง กิจแสวง
18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
14.45 - 16.30 การเขียนโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ทางการเกษตร นายผดุง กิจแสวง
19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
09.00 -10.30 การเขียนโปรแกรมส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายไร้สาย นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
10.45 - 12.00 การส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายไร้สาย (ต่อ) และการควบคุม นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
13.00 - 14.30 การส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายไร้สาย (ต่อ) และการควบคุม นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
14.45 - 16.30 โครงงานแก้โจทย์ปัญหาทางการเกษตร นายสมนึก เวียนวัฒนชัย

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : 1. เป็นการเสริมสร้างพัฒนาศักยะภาพและสมรรถนะให้แก่ครู-นักเรียนให้มีความรู้ด้านเกษตรอิเล็กทรอนิกส์ 2. เกิดความร่วมมือทางวิชาการและการจัดการกิจกรรมร่วมกัน ระหว่างคณะวิศวกรรมศาตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัดอุบลราชธานี
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
40
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา 1306 341 ปฏิบัติการดิจิตอลและการออกแบบวงจรลอจิก
หลักสูตร วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
นักศึกษาชั้นปี : 3
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ร้อยละ 80 ของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรูปเพิ่มขึ้น
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด ร้อยละ 10 ของนักศึกษาที่เรียน วิชา 1306 341 ปฏิบัติการดิจิตอลและการออกแบบวงจรลอจิก มีส่วนร่วมในการให้บริการวิชาการ
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 28,920.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 21,600.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 21,600.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
21,600.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 7,320.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 3,000.00 บาท )
1) จำนวน 5 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 4 คน
=
3,000.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 4,320.00 บาท )
1) จำนวน 4 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
4,320.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 26,100.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 4,800.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 30.00 บาท x จำนวน 40 คน
=
4,800.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 6,400.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 80.00 บาท x จำนวน 40 คน
=
6,400.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 14,900.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาทำไวนิลประชาสัมพันธ์
=
1,000.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมารถตู้พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง 2 วัน*2800 บาท
=
5,600.00 บาท
3) ค่าเดินทางราชการ
=
3,500.00 บาท
4) ค่าจ้างเหมาผลิตเอกสารประกอบการอบรม 120 บาท 40 ชุด
=
4,800.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 41,980.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 5,000.00 บาท )
1) ค่าวัสดุสำนักงาน
1 x 5,000 บาท
=
5,000 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 36,980.00 บาท )
1) วัสดุฝึก
=
36,980.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 97,000.00 บาท