แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2560
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ กิจกรรมการเรียนรู้สะเต็มศึกษาสำหรับครูคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายการบริการวิชาการกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในด้านสังคมสูงวัย ด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษา ด้านการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ และการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนและการยกระดับคุณภาพการศึกษา
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายสุระ วุฒิพรหม คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีศึกษา
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
หัวหน้าโครงการ
นางรัตนาพร ทิวะพล คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : เคมี
ประสบการณ์ : นักวิทยาศาสตร์ 30 ปี
ความเชี่ยวชาญ : นักวิทยาศาสตร์ชำนาญการ
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวเสาวนีย์ เหล่าสิงห์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : เคมี
ประสบการณ์ : สอนปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 10 ปี
ความเชี่ยวชาญ : ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวพิศิชานันท์ ศรีสุวรรณ คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : เคมี
ประสบการณ์ : สอนปฏิบัติการเคมีทั่วไป 5 ปี
ความเชี่ยวชาญ : นักวิทยาศาสตร์
ผู้ร่วมโครงการ
นางสุภาพร กรแก้ว คุณวุฒิ : ไม่ได้ระบุ
สาขา : อาชีวะ
ประสบการณ์ : งานเลขานุการ 10 ปี
ความเชี่ยวชาญ : งานเลขานุการ
ผู้ร่วมโครงการ
นางมัทธนา กะชา คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : เคมี
ประสบการณ์ : สอนปฏิบัติการเคมี 1 เป็นเวลา 20 ปี
ความเชี่ยวชาญ : นักวิทยาศาสตร์
ผู้ร่วมโครงการ
ดร.สุภาพร พรไตร คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีศึกษา
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : การสอนวิทยาศาสตร์
ผู้ร่วมโครงการ
ผศ.ดร.กานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีศึกษา
ประสบการณ์ : สอน 6 ปี
ความเชี่ยวชาญ : วิทยากรโครงงานวิทยาศาสตร์ ผู้นำเครือข่ายท้องถิ่นโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย
เลขานุการ

หลักการและเหตุผล
สะเต็มศึกษา (STEM Education) เปนนวัตกรรมการเรียนรูรูปแบบหนึ่งที่บูรณาการความรู้ใน 4 ศาสตร์ที่มีความสำคัญอย่างมากกับการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การพัฒนาคุณภาพชีวิต และความมั่นคงของประเทศ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรม (Engineering) และคณิตศาสตร์ (Mathematics) เขาดวยกัน ใหผูเรียนนําความรูไปใชแกปญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหมที่เปนประโยชนตอการดําเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ ผานประสบการณในการทํากิจกรรมการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน (Project-Based Learning) หรือ กิจกรรมการเรียนรูแบบใชปญหาเปนฐาน (Problem-Based Learning) ปี พ.ศ. 2556 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้จัดตั้งเครือข่ายสะเต็มศึกษาประเทศไทย เพื่อเปนกลไกในการขับเคลื่อนและสงเสริมการจัดการเรียนรูตามแนวทางสะเต็มศึกษาในโรงเรียนทั่วประเทศโดยมี ศูนยสะเต็มศึกษาแหงชาติ ที่ สสวท. เปนศูนยกลางในการบริหารจัดการและประสานงานกับ ศูนยการศึกษาสะเต็มศึกษาภาคจํานวน 13 ศูนย ซึ่งอยูใน 12 จังหวัดทั่วประเทศ สำหรับในจังหวัดอุบลราชธานี ศูนย์การศึกษาสะเต็มศึกษาภาค ตั้งอยู่ที่โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช และมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีทำหน้าที่เป็นมหาวิทยาลัยพี่เลี้ยงสะเต็มศึกษา โดย ผศ.ดร.สุระ วุฒิพรหม เป็นวิทยากรแกนนำ (Core Trainer) ดังนั้น เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมของบุคลากรทั้งระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและบุคลากรของมหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นผู้รับช่วงต่อนักเรียนเข้ามาศึกษาในระดับอุดมศึกษา ให้มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและจุดมุ่งหมายของการเรียนการสอนตามหลักสูตร STEM Education รวมทั้งการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาให้กับโรงเรียนเครือข่ายสะเต็มศึกษา ดังนั้นในปีงบประมาณ 2560 จึงเห็นควรจัดโครงการกิจกรรมการเรียนรู้สะเต็มศึกษาสำหรับครูคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อให้ครู อาจารย์ ได้รับทราบแนวทางและนำไปวางแผนการจัดการต่อไป

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ผู้ร่วมโครงการนำแนวทางการจัดการเรียนการสอน STEM Education ไปใช้ในห้องเรียน
2.เพื่อศึกษาความรู้ของผู้ร่วมโครงการก่อนและหลังการอบรม STEM Education
3.เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ STEM Education

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
- ครูในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาทุกสังกัดของจังหวัดอุบลราชธานีและจังหวัดใกล้เคียง จำนวน 60 คน - ครูในสังกัด อบต.คำขวาง อบต.ธาตุ อบต.โพธิ์ใหญ่ อบต.ศรีไค จำนวน 40 คน -โรงเรียนเครือข่ายในจังหวัดอุบลราชธานีได้แก่ 1.โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 32 อำเภอเมือง 2.โรงเรียนนาจะหลวย อำเภอนาจะหลวย 3.โรงเรียนศรีแสงธรรม อำเภอโขงเจียม 4.โรงเรียนสิรินธรวิทยานุสรณ์ อำเภอสิรินธร 5.โรงเรียนเขมราฐพิทยาคม อำเภอเขมราฐ 6.โรงเรียนสว่างวีระวงศ์ อำเภอสว่างวีระวงศ์ 7.โรงเรียนบุณฑริกวิทยาคาร อำเภอบุณฑริก 8.โรงเรียนโพธิ์ไทรพิทยาคาร อำเภอโพธิ์ไทร 9.โรงเรียนนาเยียศึกษารัชมังคลาภิเษก อําเภอนาเยีย 10.โรงเรียนโขงเจียมวิทยาคม อำเภอโขงเจียม จำนวน 40 คน
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
120 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (STEM Education) ขั้นพื้นฐาน 2. การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (STEM Education) ขั้นสูง

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2559
2560
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.ขั้นเตรียมการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (STEM Education) ขั้นพื้นฐาน --- --- --- 10,000.00
2.ขั้นเตรียมการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (STEM Education) ขั้นสูง --- - --- 10,000.00
3.อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (STEM Education) ขั้นพื้นฐาน --- --- -- --- 55,000.00
4.อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (STEM Education) ขั้นสูง --- --- --- -- 50,000.00
5.เขียนรายงานโครงการ --- --- --- - 5,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2559 - 30 กันยายน พ.ศ. 2560 รวมเวลา 365 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
17 มิถุนายน พ.ศ. 2560
9-16 การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (STEM Education) ขั้นพื้นฐาน ผศ.ดร.สุระ วุฒิพรหมและคณะ
8 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
9-16 การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (STEM Education) ขั้นสูง ผศ.ดร.สุระ วุฒิพรหมและคณะ

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : เพิ่มจำนวนนวัตกรรมให้กับประเทศ
ด้านสังคม : สร้างสังคมนักนวัตกรรมของครูและนักเรียน
ด้านสิ่งแวดล้อม : ครูและนักเรียนใช้สิ่งต่างๆ รอบตัวมาสร้างนวัตกรรมได้
ด้านอื่นๆ : สร้างเครือข่าย STEM Education ของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีกับโรงเรียนต่าง ๆ

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
120
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
งบประมาณทั้งหมด 130,000 บาทต่อผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 2 ครั้ง ๆ ละ 60 คน ทั้งสิ้น 120 คน คิดเป็นความคุ้มค่าต่องบประมาณเท่ากับ 1083 บาทต่อคน

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา 1151 791 วิทยานิพนธ์ (Thesis) หรือ 1151 792 การค้นคว้าอิสระ
หลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา
นักศึกษาชั้นปี : 3
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน -
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการ
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ -

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 38,400.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 36,000.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 36,000.00 บาท )
1) จำนวน 4 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
28,800.00 บาท
2) จำนวน 4 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 300.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
7,200.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 2,400.00 บาท )
1) ค่าจ้างนักศึกษาช่วยงาน จำนวน 2 คน x จำนวน 48 ชม. x จำนวน 25.00 บาท/ชม.
=
2,400.00 บาท

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 59,400.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 14,400.00 บาท )
1) จำนวน 8 มื้อ x มื้อละ 30.00 บาท x จำนวน 60 คน
=
14,400.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 36,000.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 150.00 บาท x จำนวน 60 คน
=
36,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 5,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 คน x จำนวน 1 เดือน x เดือนละ 5,000.00 บาท
=
5,000.00 บาท

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 4,000.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาถ่ายทำภาพนิ่งและวีดีโอ 4 วัน ๆ ละ 1000 บาท
=
4,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 32,200.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 10,000.00 บาท )
1) วัสดุสำนักงาน
1 x 10,000 บาท
=
10,000 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 5,000.00 บาท )
1) วัสดุคอมพิวเตอร์
1 x 5,000 บาท
=
5,000 บาท

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 17,200.00 บาท )
1) วัสดุการศึกษา
=
6,000.00 บาท
2) วัสดุวิทยาศาสตร์
=
6,200.00 บาท
3) ค่าถ่ายเอกสาร
=
5,000.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 130,000.00 บาท