แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2560
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การเขียนโปรแกรม CNC Milling งานกัด และการใช้เครื่องจักร CNC Milling (งานกัด )
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายการบริการวิชาการกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในด้านสังคมสูงวัย ด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษา ด้านการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ และการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนและการยกระดับคุณภาพการศึกษา
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายถนัดกิจ ศรีโชค คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : วิศวกรรมศาสตร์อุตสาหการ
ประสบการณ์ : การออกแบบเครื่องมือช่วยในการผลิต
ความเชี่ยวชาญ : การเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ CAD/CAM
หัวหน้าโครงการ
นายอมต ยอดคุณ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : ครุศาสตร์อุตสาหกรรม
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ : การขึ้นรูปโลหะ
ผู้ร่วมโครงการ
นายพรเทพ สุรมาตย์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : วิศวกรรมศาสตร์อุตสาหการ
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
ผู้ร่วมโครงการ
ผศ.ตะวันฉาย โพธิ์หอม คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : Master of Engineering Science (Manufacturing Engineering), The University of Iowa, USA
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
นปัจจุบันเครื่องจักรอัตโนมัติ (CNC) ได้เข้ามามีบทบาทและใช้อย่างแพร่หลายในภาคอุตสาหกรรมการผลิต ซึ่งมีการขยายตัวเป็นอย่างต่อเนื่อง ทำให้โรงงานอุตสาหกรรมมีความต้องการบุคลากรที่มีความรู้ด้านการใช้เครื่องจักรและการเขียนโปรแกรมซีเอนซีเป็นอย่างมาก ศูนย์ CNC/CAD/CAM คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ซึ่งมีเครื่องจักร ซีเอนซี และ โปรแกรมที่ช่วยในการออกแบบและการผลิต (CAD/CAM) เพื่อใช้ในการเรียนการสอน และบริการวิชาการแก่สังคม ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ได้ทำการจัดการอบรมการเขียนโปรแกรมซีเอนซีและการใช้เครื่องจักรกลอัตโนมัติ เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ผู้เข้าอบรมได้มีความรู้และทดสอบความสามารถที่ได้จากการอบรม เพื่อจะนำไปใช้ในงานอุตสาหกรรมต่อไป

วัตถุประสงค์
1.เพื่อสร้างบุคคลากรด้านการใช้เครื่องจักร ซีเอนซี และ CAD/CAM ให้มากขึ้น
2.เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการใช้ Software ที่ช่วยในการออกแบบและการผลิต
3.เพื่อเป็นการบริการงานวิชาการแก่สังคม
4.เสริมความรู้และทักษะแก่นักศึกษาและผู้เกี่ยวข้อง

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
นักศึกษาที่ทำงานเกี่ยวกับ ซีเอนซี และ ซอฟแวร์ที่ช่วยในการออกแบบและการผลิตหรือนักออกแบบผลิตภัณฑ์ และการออกแบบเครื่องจักรกล ในภาคอุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคนิค สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และมหาวิทยาลัยในประเทศ
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
40 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. การเตรียมการ - ชี้แจงแนวทางการดำเนินโครงการเพื่อสร้างความเข้าใจและมีส่วนร่วม 2.ขออนุมัติแต่งตั้งคระกรรมการดำเนินงาน 3. มอบหมายงานของคณะกรรมการแต่ละฝ่าย 4. ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายและส่งใบสมัคร 5. จัดฝึกการอบรมสัมมนา 6. การติดตามและประเมินผลโครงการ

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2559
2560
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.1. การเตรียมการ - ชี้แจงแนวทางการดำเนินโครงการเพื่อสร้างความเข้าใจและมีส่วนร่วม --- -- --- --- 0.00
2.ขออนุมัติแต่งตั้งคระกรรมการดำเนินงาน --- -- -- --- 0.00
3.มอบหมายงานของคณะกรรมการแต่ละฝ่าย --- --- -- --- 0.00
4.ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายและส่งใบสมัคร --- -- - --- 20,000.00
5.จัดฝึกการอบรมสัมมนา --- --- -- --- 45,000.00
6.v --- --- -- -- 0.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2560 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2560 รวมเวลา 30 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
22 มิถุนายน พ.ศ. 2560
09.00-16.00 การใช้โปรแกรม CNCSimulator อ.ถนัดกิจ ศรีโชค
23 มิถุนายน พ.ศ. 2560
09.00 -16.00 การใช้เครื่องจักรกลอัตโนมัติ(งานกัด) อ.อมต ยอดคุณ
24 มิถุนายน พ.ศ. 2560
09.00-16.00 ทฤษฏีประวัติความเป็นมาเครื่องจักรกลอัตโนมัติ ทฤษฏีการเขียนโปรแกรม cnc (งานกัด) อ.อมต ยอดคุณ

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : หลังจากกลุ่มเป้าหมายเข้าอบรม เกิดการสร้างงาน สร้างโอกาสในการไปประกอบอาชีพ
ด้านสังคม : กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ด้านการเขียนโปรแกรมเครื่องจักร CNC และการใช้เครื่องจักร
ด้านสิ่งแวดล้อม : เกิดการอนุรักษ์และใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
40
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
90
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา วิชา CNC Technology I ( เทคโนโลยีซี เอ็น ซี 1)
หลักสูตร วศ.บ.
นักศึกษาชั้นปี : 3,4
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ร้อยละของนักศึกษาที่ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น / สามารถสอบผ่านในรายวิชา
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด ร้อยละของนักศึกษาที่มีส่วนร่วมในการให้บริการวิชาการ
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ จำนวนโครงการวิจัยของนักศึกษาที่ได้จากการบริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 10,800.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 10,800.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 10,800.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
7,200.00 บาท
2) จำนวน 1 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
3,600.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 18,900.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 8,100.00 บาท )
1) จำนวน 6 มื้อ x มื้อละ 30.00 บาท x จำนวน 45 คน
=
8,100.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 10,800.00 บาท )
1) จำนวน 3 มื้อ x มื้อละ 80.00 บาท x จำนวน 45 คน
=
10,800.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 35,300.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 4,000.00 บาท )
1) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
1 x 4,000 บาท
=
4,000 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 4,000.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาทำสื่อประชาสัมพันธ์
1 x 4,000 บาท
=
4,000 บาท

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 5,300.00 บาท )
1) ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์
1 x 5,300 บาท
=
5,300 บาท

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 22,000.00 บาท )
1) ค่าวัสดุฝึก(อะลูมิเนียม)
=
22,000.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 65,000.00 บาท