แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2560
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ โภชนเภสัช เวชภัณฑ์และเวชสำอางชะลอวัยสำหรับผู้สูงอายุ
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายการบริการวิชาการกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในด้านสังคมสูงวัย ด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษา ด้านการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ และการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
ผศ.ดร.ชุตินันท์ ประสิทธิ์ภูริปรีชา คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : Ph.D. เภสัชศาสตร์ (2006) เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต Pharmaceutical Microbiology (1992) เภสัชศาสตร์บัณฑิต เภสัชศาสตร์ (1987)
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ : immunology, microbiology, virology, medicinal plants, cell culture,Biological fermented products, vaccine, wood vinegar
หัวหน้าโครงการ

หลักการและเหตุผล
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มีพันธกิจหนึ่งคือ การนำความรู้ความเชี่ยวชาญที่มีในคณะเพื่อการยกระดับและสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ด้านยา สมุนไพรและเครื่องสำอาง ตลอดจนผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆ เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนายกระดับผลิตภัณฑ์ของชุมชนที่นำทรัพยากรชีวภาพมาเป็นวัตถุดิบในการผลิต กอปรกับการที่ประเทศไทยกำลังมุ่งหน้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุ ทำให้เกิดกระแสความสนใจในการใช้ผลิภัณฑ์สุขภาพต่างๆ เพื่อการชะลอวัยรวมไปถึงการดูแลสุขภาพผู้สูงวัย ดังนั้น คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ซึ่งมีความพร้อมในด้านบุคลากร องค์ความรู้ และเครื่องมือที่ทันสมัย ทั้งยังมีข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆ จากทั้งพืชผลทางการเกษตรและสมุนไพรและภูมิปัญญาพื้นบ้านอีสานใต้ จึงเล็งเห็นถึงความเป็นไปได้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ / นวัตกรรมทางสุขภาพที่จะตอบสนองความต้องการของสังคมในการชะลอการเกิดริ้วรอยแห่งวัย การเสริมสร้างสุขภาพ รวมไปถึงการดูแลสุขภาพของผู้สูงวัย ซึ่งมีความเป็นไปได้ในการพัฒนาสู่เชิงพาณิชย์ต่อไป

วัตถุประสงค์
1.เพื่อวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ / นวัตกรรมทางสุขภาพเพื่อชะลอวัยและดูแลสุขภาพผู้สูงวัย จำนวน 3-5 ผลิตภัณฑ์

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
-ไม่มีข้อมูล
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
0 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ (โครงการต่อเนื่อง 3 ปี) ปีที่ 1 การสำรวจและประเมินศักยภาพวัตถุดิบ ทดสอบคุณสมบัติของวัตถุดิบ และพัฒนาสูตรตำรับเบื้องต้น ทดสอบความคงสภาพทางกายภาพ เคมี และจุลชีววิทยา ปีที่ 2 การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพ การปลดปล่อยสารสำคัญจากผลิตภัณฑ์ และปรับปรุงสูตรตำรับ พัฒนา ปรับปรุงกระบวนการผลิต รวมทั้งออกแบบบรรจุภัณฑ์ ปีที่ 3 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบ และ การออกแบบสื่อสนับสนุนการตลาดอื่นๆ เช่น ฉลาก / ตรา ยี่ห้อ อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อการทดสอบและสื่อสารการตลาด การอบรมให้ความรู้และการฝึกปฏิบัติ (On the job training) พร้อมทั้งการเป็นพี่เลี้ยงให้คำปรึกษา 2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน) ต่อการพัฒนา 1 ผลิตภัณฑ์ในปีที่ 1 (เป้าหมายของโครงการคือ 3 ผลิตภัณฑ์)

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2559
2560
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.การสำรวจและประเมินศักยภาพวัตถุดิบ ทดสอบคุณสมบัติของวัตถุดิบ --- --- --- 20,000.00
2.กิจกรรมการพัฒนาสูตรตำรับเบื้องต้น -- --- 50,000.00
3.กิจกรรมการทดสอบความคงสภาพทางกายภาพ เคมี และจุลชีววิทยา --- -- - 30,000.00
4.กิจกรรมประเมินความสำเร็จของโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ --- --- --- -- 0.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2559 - 30 กันยายน พ.ศ. 2560 รวมเวลา 365 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : กิจกรรมยกระดับและสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนายกระดับผลิตภัณฑ์ของชุมชนที่นำทรัพยากรชีวภาพมาเป็นวัตถุดิบในการผลิต สู่การเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีอนาคต โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพพร้อมกับการสร้างภูมิคุ้มกันตัวเองในเชิงธุรกิจ
ด้านสังคม : การส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากทรัพยากรชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน เพื่อให้ชุมชนมีแนวคิด และแนวทางในการนำทรัพยากรชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนมาใช้ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและคุ้มค่า และผลิตภัณฑ์ที่ได้ยังมุ่งเป้าไปที่การดูแลสุขภาพของผู้สูงวัยอีกด้วย
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : การพัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ตอบสนองความต้องการของสังคมที่มุ่งสู่สังคมผู้สูงอายุ ในด้านการชะลอวัยและการดูแลสุขภาพของผู้สูงวัย

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
80
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
เกิดความคุ้มค่า คุ้มทุนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และเสริมศักยภาพชุมชน

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


-
การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 75,000.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 75,000.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 75,000.00 บาท )
1) จำนวน 50 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 5 คน
=
75,000.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 220,000.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 216,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 คน x จำนวน 12 เดือน x เดือนละ 9,000.00 บาท
=
216,000.00 บาท

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 4,000.00 บาท )
1) 1) ค่าจัดทำรูปเล่มรายงาน
=
4,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 205,000.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 5,000.00 บาท )
1) วัสดุสำนักงาน
100 x 50 บาท
=
5,000 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 200,000.00 บาท )
1) วัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์
=
200,000.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 500,000.00 บาท