แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2560
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ โครงการจัดทำหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องทางเภสัชศาสตร์ด้านบริบาลเภสัชกรรมผู้สูงอายุ
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายการบริการวิชาการกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในด้านสังคมสูงวัย ด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษา ด้านการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ และการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
ผศ.ดร.ชุตินันท์ ประสิทธิ์ภูริปรีชา คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : Ph.D. เภสัชศาสตร์ (2006) เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต Pharmaceutical Microbiology (1992) เภสัชศาสตร์บัณฑิต เภสัชศาสตร์ (1987)
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ : immunology, microbiology, virology, medicinal plants, cell culture,Biological fermented products, vaccine, wood vinegar
หัวหน้าโครงการ

หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันโรค ผู้สูงอายุนับเป็นกลุ่มประชากรที่มีความสำคัญมากขึ้น ทั้งในแง่ที่มีสัดส่วนมากขึ้น มีบทบาทในสังคมเกษตรกรรมมากขึ้นในการดูแลลูกหลาน ในขณะเป็นกลุ่มประชากรที่มีปัญหาสุขภาพมากขึ้นเช่นกัน อย่างไรก็ดี กลุ่มผู้สูงอายุเป็นกลุ่มที่ให้ความสนใจเรื่องสุขภาพมากขึ้น มีการส่งเสริมการทำกิจกรรมผ่านการรวมกลุ่มผู้สูงอายุในชุมชนต่างๆ และน่าจะมีศักยภาพในการเรียนรู้ในเรื่องคุณภาพชีวิตโดยรวม ในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วทั้งระดับเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างสังคม เศรษฐกิจ สภาพแวดล้อม การระบาดของโรคและสภาพภูมิอากาศ อิทธิพลของสื่อสารมวลชนรูปแบบต่างๆที่มีผลต่อพฤติกรรมของคนในสังคมในยุคโลกาภิวัตน์ เป็นต้น วิชาชีพเภสัชกรรมนับเป็นหนึ่งในทีมสุขภาพ มีบทบาทช่วยในการปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมในการช่วยค้นหา แก้ไข และป้องกันปัญหาที่เกิดจากการใช้ยาและปัญหาที่เกี่ยวข้อง ในงานเภสัชกรรมปฐมภูมิ เช่น การเยี่ยมบ้าน การส่งเสริมการใช้สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน และการสร้างความสุขจากกิจกรรมในชุมชน นอกจากนี้จากประสบการณ์ คณะเภสัชศาสตร์ยังได้มีบทบาทในการจัดกิจกรรมการฝึกปฎิบัติงานในวิชาเวชศาสตร์ชุมชนโดยเป็นการสร้างการมีส่วนร่วมของนักศึกษาเภสัชศาสตร์ในการเรียนรู้พร้อมกับการการสร้างกระบวนการเรียนรู้ในชุมชนได้ด้วย โดยนำวิทยาการอื่นๆ และเชื่อโยงกับผู้เชี่ยวชาญสาขาอื่นๆ เข้ามาบูรณาเพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้แก่ผู้สูงอายุในชุมชนได้ พื้นที่ชุมชน 4 ตำบล ที่นักศึกษาได้เคยปฏิบัติงานได้แก่ ตำบลธาตุ ตำบลเมืองศรีไค ตำบลคูเมือง อำเภอวารินชำราบ และ ตำบลแจระแม อำเภอเมืองอุบลราชธานี เป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพในการสร้างกระบวนการเรียนรู้จากพื้นฐานความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างชุมชนกับมหาวิทยาลัย

วัตถุประสงค์
1.เพื่อจัดอบรมสร้างกระบวนการเรียนรู้แก่ผู้สูงอายุในชุมชนเพื่อการมีส่วนร่วมสร้างสุขภาพและคุณภาพชีวิตในชุมชน
2.เพื่อส่งเสริมการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพของนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ในการบูรณาการเรียนการสอนจากวิชาความรู้ทางวิชาชีพเภสัชกรรมสู่การฝึกปฏิบัติงานการให้บริการวิชาการแก่ชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
ผู้สูงอายุจากพื้นที่ 4 ตำบล ได้แก่ ตำบลธาตุ ตำบลเมืองศรีไค ตำบลคูเมือง อำเภอวารินชำราบ และ ตำบลแจระแม อำเภอเมืองอุบลราชธานี จำนวน 100 คน นักศึกษาเภสัชศาสตร์ คณาจารย์ คณะเภสัชศาสตร์ จำนวน 100 คน
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
200 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1.กิจกรรมและวิธีดำเนินการ 2.แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมการดำเนินงาน)

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2559
2560
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.ประชุมคณะทำงาน เพื่อวางแผนการดำเนินการ - --- --- --- 15,000.00
2.การประสานงานกับชุมชน 4 ตำบล การศึกษาปัญหาและความต้องการของชุมชน - - --- --- 30,000.00
3.การผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ เอกสาร --- - --- 45,000.00
4.ดำเนินการสร้างกระบวนการเรียนรู้ เก็บข้อมูล คืนข้อมูล การจัดกิจกรรมอย่างมีส่วนร่วม --- - --- 180,000.00
5.ประเมินผลการดำเนินงาน --- --- -- -- 20,000.00
6.สรุปผลการดำเนินงาน --- --- --- - 10,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2560 - 30 เมษายน พ.ศ. 2560 รวมเวลา 119 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : -
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
200
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา เวชศาสตร์ชุมชน
หลักสูตร เภสัชศาสตรบัณฑิต
นักศึกษาชั้นปี : 5
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ร้อยละของนักศึกษาที่ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น / สามารถสอบผ่านในรายวิชา
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด ร้อยละของนักศึกษาที่ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น / สามารถสอบผ่านในรายวิชา
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ ร้อยละของนักศึกษาที่ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น / สามารถสอบผ่านในรายวิชา

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 9,900.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 9,900.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 7,200.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 1,200.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
3,600.00 บาท
2) จำนวน 1 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
3,600.00 บาท
-วิทยากรภายใน ( รวม 2,700.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 300.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
2,700.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 278,000.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 35,800.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 25,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 ครั้ง x จำนวน 5 คน x ครั้งละ 2,500.00 บาท
=
25,000.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 6,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 คืน x จำนวน 3 ห้อง x ห้องละ 1,000.00 บาท
=
6,000.00 บาท
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 4,800.00 บาท )
1) จำนวน 5 วัน x จำนวน 4 วัน x วันละ 240.00 บาท
=
4,800.00 บาท

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 72,000.00 บาท )
1) จำนวน 8 มื้อ x มื้อละ 30.00 บาท x จำนวน 300 คน
=
72,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 120,000.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 100.00 บาท x จำนวน 300 คน
=
120,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 36,000.00 บาท )
- จำนวน 4 คัน x จำนวน 5 วัน x ราคา 1,800 บาท/คัน/วัน
=
36,000.00 บาท

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 14,200.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการประชุม
=
12,000.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมาจัดทำรายงานผลการดำเนินงานพร้อมเข้ารูปเล่ม
=
2,200.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 12,100.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 5,000.00 บาท )
1) ค่าวัสดุสำนักงาน
100 x 50 บาท
=
5,000 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 3,000.00 บาท )
1) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์
1 x 3,000 บาท
=
3,000 บาท

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 4,100.00 บาท )
1) ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์
1 x 4,100 บาท
=
4,100 บาท

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 300,000.00 บาท