แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2560
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : พัฒนาการบริการรักษาพยาบาลและดูแลสุขภาพระดับทุติยภูมิและตติยภูมิให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน และพัฒนาโรงพยาบาลของมหาวิทยาลัยให้เป็นที่ยอมรับ
นโยบาย : การบริการวิชาการเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิต ในด้านการบริการสุขภาพ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นางสุรีย์ ธรรมิกบวร คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : การพยาบาล
ประสบการณ์ : ด้านการพยาบาลชุมชน
ความเชี่ยวชาญ : การพยาบาลองค์รวม
หัวหน้าโครงการ
นางสาวจารุวรรณ ชุปวา คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : การพยาบาล
ประสบการณ์ : ด้านการพยาบาลสูติศาสตร์
ความเชี่ยวชาญ : การพยาบาลสูติศาสตร์
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวทัศน์วรรณ ศิระพรหม คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : การพยาบาล
ประสบการณ์ : ด้านการพยาบาลสูติศาสตร์
ความเชี่ยวชาญ : การพยาบาลสูติศาสตร์
ผู้ร่วมโครงการ
นายผดุงเกียรติ เกียรติผิวนวล คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : เทคโนโลยีสารสนเทศ
ประสบการณ์ : ด้านระบบสารสนเทศ
ความเชี่ยวชาญ : ด้านระบบสารสนเทศ
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
ประเทศไทยก้าวสู่สังคมผู้สูงวัย การจัดบริการวิชาการในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศให้กับกลุ่มผู้สูงอายุที่สุขภาพดีเพื่อเป็นการนำความรู้สู่ชุมชน และเป็นพัฒนาตนเองและผู้ร่วมโครงการรวมทั้งนักศึกษาที่จะได้เรียนรู้ผ่านการลงมือทำจริงซึ่งมีการบูรณาการในรายวิชาสารสนเทศทางการพยาบาล ดังนั้น ในปี 2560 คณะพยาบาลศาสตร์จึงได้มีความต้องการที่จะจัดบริการวิชาการในการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการส่งเสริมสุขภาพตนเองในผู้สูงอายุที่มีรายละเอียดครบถ้วนครอบคลุม สะดวก เข้าใจง่าย และเข้าถึงง่าย สำหรับผู้ใช้ คือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน บุคคลากรด้านสุขภาพ นักศึกษาพยาบาล นักศึกษาสายวิทยาศาสตร์สุขภาพคณะอื่นๆ และบุคคลทั่วไปที่สนใจ เพื่อเผยแพร่ระบบสารสนเทศเพื่อการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีคุณภาพให้บุคคลทั่วไปสามารถใช้ได้ และจะเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้ยืดเวลาการเป็นผู้สูงอายุที่พึ่งพาตนเองได้

วัตถุประสงค์
1.เพื่อพัฒนาแอพลิเคชั่นส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่สุขภาพดี
2.เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนและบุคลากรทางสุขภาพในการให้บริการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
บุคลากรสาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุข นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
140 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. เขียนโครงการเสนอขออนุมัติ 2. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานโครงการ 3. ประชุมคณะทำงาน เตรียมการดำเนินการ 4. ทำเรื่องขออนุมัติเงินทดรองจ่ายในโครงการ 5. ประชาสัมพันธ์โครงการ 6. เตรียมสถานที่ วัสดุอุปกรณ์การดำเนินโครงการ 7. สำรวจความต้องการระบบการให้บริการดูแลสุขภาพที่บ้านของผู้ป่วยและผู้ดูแล 8. ดำเนินการตามแผน 9. ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน 10. สรุปประเมินผลโครงการ 11. จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินโครงการ

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2559
2560
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.ขั้นเตรียมการ - เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ - แต่งตั้งและประชุมคณะกรรมการดำเนินการ - ทำเรื่องขออนุมัติเงินทดรองจ่าย - ประสานงานผู้เกี่ยวข้อง - ประช --- --- --- 0.00
2.ขั้นดำเนินการ - เตรียมสถานที่ วัสดุอุปกรณ์ - สำรวจความต้องการระบบสารสนเทศเพื่อการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ - พัฒนาพัฒนาแอพลิเคชั่นแนวทางการส่งเสริมส --- --- 74,960.00
3.ขั้นสรุปและรายงาน - ประเมินผล ถอดบทเรียนและสังเคราะห์องค์ความรู้ --- --- --- -- 25,040.00
4.ขั้นนำข้อสรุปมาปรับปรุง - จัดทำข้อสรุปผลการประเมินโครงการและประชุมคณะกรรมการทำงาน - รายงานผลการจัดโครงการต่อคณะกรรมการบริการวิชาการ --- --- --- -- 0.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2559 - 30 กันยายน พ.ศ. 2560 รวมเวลา 365 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
09.00 - 12.00 จัดประชุมคณะทำงานเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลด้านความต้องการระบบสารสนเทศเพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่สุขภ ผศ.สุรีย์ ธรรมิกบวรและอาจารย์จารุวรรณ ชุปวา
16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
09.00-12.00 ส่งโครงร่างแอพลิเคชั่นแนวทางการส่งเสริมสุขภาพสำหรับผู้ป่วยสูงอายุ ให้ผู้เชี่ยวชาญด้านผู้สูงอายุและผู ผศ.สุรีย์ ธรรมิกบวรและอาจารย์จารุวรรณ ชุปวา
23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
09.00-12.00 ประชุมร่วมกับผู้เชี่ยวชาญในการพัฒนาแอพลิเคชั่น สำหรับโทรศัพท์มือถือ เพื่อกำหนดทิศทางและรายละเอียดในก ผศ.สุรีย์ ธรรมิกบวรและอาจารย์จารุวรรณ ชุปวา
2 มีนาคม พ.ศ. 2560
09.00-12.00 ส่งโครงร่างแอพลิเคชั่นให้ผู้ทรงคุณวุฒิด้านผู้สูงอายุและด้านแอพลิเคชั่นตรวจสอบ ผศ.สุรีย์ ธรรมิกบวรและอาจารย์จารุวรรณ ชุปวา
9 มีนาคม พ.ศ. 2560
09.00-12.00 ประชุมร่วมกับผู้เชี่ยวชาญในการพัฒนาแอพลิเคชั่น สำหรับโทรศัพท์มือถือ เพื่อกำหนดทิศทางและรายละเอียดในก ผศ.สุรีย์ ธรรมิกบวรและอาจารย์จารุวรรณ ชุปวา
16 มีนาคม พ.ศ. 2560
09.00-12.00 ตรวจสอบและทดลองใช้แอพลิเคชั่นที่ได้ เพื่อปรับปรุงแก้ไข ตรวจสอบความถูกต้อง ผศ.สุรีย์ ธรรมิกบวรและอาจารย์จารุวรรณ ชุปวา
4 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
08.00-16.00 จัดกิจกรรมอบรมการใช้แอพลิเคชั่น ผศ.สุรีย์ ธรรมิกบวรและอาจารย์จารุวรรณ ชุปวา
15 มิถุนายน พ.ศ. 2560
08.00-16.00 จัดประชุมแบบ Focus group บุคลากรโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบัววัด อาสาสมัครสาธารณสุข บุคคลทั่วไปที่ส ผศ.สุรีย์ ธรรมิกบวรและอาจารย์จารุวรรณ ชุปวา
6 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
09.00-16.00 นำเสนอผลการดำเนินงานพร้อมผลจากการ Focus group - ประชุมถอดบทเรียน ผศ.สุรีย์ ธรรมิกบวรและอาจารย์จารุวรรณ ชุปวา

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : 1.ได้แอพลิเคชั่นแนวทางการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ที่บุคคลทั่วไปสามารถใช้และเข้าถึงได้ง่าย 2.อาสาสมัครสาธารณสุข และบุคลากรด้านสาธารณสุขในพื้นที่มีเครื่องมือทำงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : 1.นักศึกษาได้พัฒนาทักษะด้านสารสนเทศ 2.อาจารย์ได้บูรณาการโครงการบริการวิชาการและการจัดการเรียนการสอน

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
80
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา วิชาสารสนเทศทางการพยาบาลหลักสูตร
หลักสูตร พยาบาลศาสตรบัณฑิต
นักศึกษาชั้นปี : 2
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 18,160.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 10,800.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 10,800.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 2 ชม. x ชม.ละ 500.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
3,000.00 บาท
2) จำนวน 1 วัน x จำนวน 2 ชม. x ชม.ละ 500.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
3,000.00 บาท
3) จำนวน 4 วัน x จำนวน 2 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
4,800.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 7,360.00 บาท )
1) ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วม Focus groupจำนวน 10 คน x จำนวน 2 ชม. x จำนวน 100.00 บาท/ชม.
=
2,000.00 บาท
2) ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการจำนวน 8 คน x จำนวน 1 ชม. x จำนวน 420.00 บาท/ชม.
=
3,360.00 บาท
3) ค่าตอบแทนสำหรับอาสาสมัครที่เข้าร่วมอบรมจำนวน 20 คน x จำนวน 1 ชม. x จำนวน 100.00 บาท/ชม.
=
2,000.00 บาท

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 58,200.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 10,500.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 30.00 บาท x จำนวน 25 คน
=
1,500.00 บาท
2) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 30.00 บาท x จำนวน 10 คน
=
600.00 บาท
3) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 30.00 บาท x จำนวน 100 คน
=
6,000.00 บาท
4) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 30.00 บาท x จำนวน 20 คน
=
2,400.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 8,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 25 คน
=
2,500.00 บาท
2) จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 10 คน
=
500.00 บาท
3) จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 100 คน
=
5,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 39,700.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาบริการถ่ายเอกสาร พร้อมเข้าเล่มสรุปกิจกรรม จำนวน 7 เล่ม เล่มละ 100.00.- บาท
=
700.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมาบริการจัดทำแอพลิเคชั่น จำนวน 1 งาน
=
30,000.00 บาท
3) ค่าจ้างเหมาบริการถ่ายทำวีดิทัศน์ จำนวน 1 งาน
=
3,000.00 บาท
4) ค่าจ้างเหมาบริการถอดเทปและพิมพ์เอกสาร จำนวน 1 งาน
=
6,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 23,640.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 23,640.00 บาท )
1) ค่าวัสดุสำนักงาน
1 x 13,640 บาท
=
13,640 บาท
2) ค่าถ่ายเอกสาร
5,000 x 1 บาท
=
5,000 บาท
3) ค่าจัดวัสดุจัดโครงการ
1 x 5,000 บาท
=
5,000 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 100,000.00 บาท