แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2556
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ เทคนิคการป้องกันกำจัดศัตรูพืช เพื่อการผลิตพืชปลอดสารพิษ
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีที่เหมาะสมบนฐานวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ดีงาม เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและการพึ่งพาตนเองของชุมชนท้องถิ่น
นโยบาย : โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านอาชีพ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
ยังไม่ได้เพิ่มผู้รับผิดชอบโครงการselect * from response_data rd,user_data ud,education ed,user_tname ut,resp_type rt where (rd.user_id=ud.user_id) and (rd.resp_type_id=rt.resp_type_id) and (ud.tname_id=ut.tname_id) and (ud.edu_id=ed.edu_id) and rd.pro_id=250 order by rd.resp_type_id

หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันการทำการเกษตรของเกษตรกร จำเป็นต้องพึ่งพาปัจจัยในการผลิตพืชจำนวนมาก เพื่อให้ได้ผลผลิตสูงตามความต้องการของตลาด อีกทั้งเกษตรกรได้มีการปรับเปลี่ยนวิธีการผลิตพืชเพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม เช่น ความต้องการอาหารที่มีสูงขึ้น มีความต้องการอาหารที่ปลอดภัยจากสารพิษตกค้างต่าง ๆ การเปลี่ยนแปลงของพระราชบัญญัติวัตถุมีพิษ ที่มีการกำหนดให้มีการขึ้นทะเบียนสารเคมีด้านการเกษตรภายใต้เงื่อนไขที่รัดกุมขึ้น และอยู่ในระหว่างการปรับเปลี่ยนวิธีการขึ้นทะเบียนสารเคมีทำการเกษตร ทำให้สารเคมีทางการเกษตรบางชนิดมีปริมาณลดลงในท้องตลาด ซึ่งส่งผลให้เกษตรไม่สามารถหาสารเคมีทางการเกษตรเพื่อใช้ในการป้องกันกำจัดศัตรูได้ง่ายเหมือนในอดีต แต่การผลผลิตทางการเกษตรมักประสบปัญหาการเข้าทำลายของโรค แมลง วัชพืช ตลอดเวลาทำให้ต้องหาวิธีในการป้องกันกำจัดศัตรูพืช เพื่อคงไว้ซึ่งผลผลิต ดังนั้น การควบคุมศัตรูพืชโดยวิธีการอื่น ๆ เช่นการใช้ชีววิธีในการควบคุมโรค แมลงศัตรูพืช หรือการใช้สารสกัดจากพืชที่มีคุณสมบัติในการกำจัดศัตรูพืชซึ่งเป็นวิธีที่มีศักยภาพ ผลผลิตที่ได้มีความปลอดภัย ซึ่งในอดีตเมื่อมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้อย่างสะดวกเกษตรกรจะยอมรับวิธีการอื่นในการป้องกันกำจัดศัตรูพืชนอกจากการใช้สารเคมี ทำให้ผลผลิตทางการเกษตรมักมีสารพิษตกค้างค่อนข้างสูง ดังนั้นเมื่อมีวิกฤตด้านสารเคมีกำจัดศัตรูพืช จึงเป็นโอกาสที่ควรมีการบริการวิชาการด้านเทคนิคการควบคุมศัตรูพืช โดยวิธีการอื่น ๆ เช่นการใช้ชีววิธี การวางแผนการผลิตพืชอย่างปลอดภัย เพื่อเป็นการชี้ให้เกษตรกรเห็นถึงพิษภัยของสารเคมีกำจัดศัตรูพืชหากใช้ไม่ถูกต้องเหมาะสม แนวทางในการกำจัดศัตรูพืชด้วยวิธีการต่าง ๆ เพื่อทดแทนการใช้สารเคมี และสามารถผลิตพืชปลอดภัยได้อย่างเหมาะสม

วัตถุประสงค์

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
ยังไม่ได้กรอกคุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
60 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1.1 ประสานงานกับกลุ่มเกษตรกร ผู้ปลูกผัก และปลูกข้าว ในพื้นที่เป้าหมาย เพื่อกำหนดหัวข้อในการอบรม ตามความสนใจ เพื่อเป็นการเสริมความรู้ให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายได้ตรงความต้องการ 1.2 ประชุมร่วมวิทยากร และคณะทำงาน เพื่อเตรียมความพร้อมในการอบรม 1.3 ดำเนินการอบรม 1.4 สรุปผลการอบรม

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2555
2556
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 รวมเวลา 270 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -ผู้ร่วมโครงการสามารถลดรายจ่ายจากการพึ่งพาสารเคมีกำจัดศัตรูพืช และยังเป็นแนวทางการผลิตพืชปลอดสารพิษเพื่อเพิ่มรายได้ เนื่องจากการจำหน่วยผลผลิตในกลุ่มปลอดสารพิษ
ด้านสังคม : -ประชาชน กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพื้นฐาน สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
ด้านสิ่งแวดล้อม : -เกิดการอนุรักษ์และใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า เกิดความปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม และตัวเกษตรกร เนื่องจากการลดการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
-60
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
-90
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
-80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา การควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
หลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเกษตรศาสตร์
นักศึกษาชั้นปี : 3-4
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ร้อยละ 80 ของนักศึกษาที่ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น / สามารถสอบผ่านในรายวิชา
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 24,400.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 12,000.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 2,400.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 2 ชม. x ชม.ละ 1,200.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
2,400.00 บาท
-วิทยากรภายใน ( รวม 9,600.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 2 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 4 คน
=
9,600.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 12,400.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 4,000.00 บาท )
1) จำนวน 5 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 4 คน
=
4,000.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 8,400.00 บาท )
1) จำนวน 5 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 4 คน
=
8,400.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 27,200.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 4,800.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 4,800.00 บาท )
1) จำนวน 5 วัน x จำนวน 4 วัน x วันละ 240.00 บาท
=
4,800.00 บาท

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 4,000.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 40 คน
=
4,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 6,400.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 80.00 บาท x จำนวน 40 คน
=
6,400.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 3,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 คน x จำนวน 2 เดือน x เดือนละ 1,500.00 บาท
=
3,000.00 บาท

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 9,000.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมารถรับจ้างกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมประชุม (ตามระยะทาง)จำนวน 5 กลุ่มx 2 ครั้ง กลุ่มละ 900 บาท
=
9,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 20,600.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 10,600.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
4,000 แผ่น x 0.50 บาท
=
2,000.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
5,000.00 บาท
=
5,000.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
1,600.00 บาท
=
1,600.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
0 คน x 5,000.00 บาท
=
0.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
2,000.00 บาท
=
2,000.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 10,000.00 บาท )
1) ค่าวัสดุเกษตร
=
10,000.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 3,000.00 บาท )
1) ค่าแสตมป์
จำนวน 200 ดวง x ดวงละ 3 บาท
=
600.00 บาท
2) ค่าสาธารณูปโภค
จำนวน 2400 บาท
=
2,400.00 บาท

งบประมาณทั้งสิ้น 75,200.00 บาท