แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2561
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ การประยุกต์ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ กับเทคโนโลยี Internet of Things
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : พัฒนาระบบและกลไกการบริการวิชาการอย่างมีส่วนร่วมให้มีประสิทธิภาพ ตามนโยบาย/ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยและประเทศ
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้แก่เด็ก เยาวชนตามแนวพระราชดำริฯ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
ผศ.รัฐพงศ์ ปฏิกานัง คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : วิศวกรรมเครื่องกล
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ : การควบคุมอัตโนมัติ เทคโนโลยี Internet of Things
หัวหน้าโครงการ
นายกฤตยา ไชยยศ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : วิศวกรรมเครื่องกล
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ : CNC,Pneumatic
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
ในปัจจุบันเทคโนโลยี Internet of Things หรือ IoT เริ่มเข้ามามีบทบาทสำคัญในชีวิตประจำวัน IoT คือ สภาพแวดล้อมอันประกอบด้วยสรรพสิ่ง (Things) ที่สามารถสื่อสารและเชื่อมต่อกันได้ผ่านโพรโทคอลการสื่อสารทั้งแบบใช้สายและไร้สาย โดยสรรพสิ่งต่างๆ มีวิธีการระบุตัวตนได้ รับรู้บริบทของสภาพแวดล้อมได้ และมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบและทำงานร่วมกันได้ ปัจจุบันเราสามารถนำเทคโนโลยี IoT มาประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ โดยเพิ่มขีดความสามารถของอุปกรณ์เครื่องใช้หรือบริการให้สามารถรับรู้ แลกเปลี่ยนข้อมูล แสดงผล ควบคุม หรือทำงานร่วมกันได้ โดยก้าวข้ามขีดจำกัดในเรื่องของเวลาและสถานที่ เป็นการบูรณาการเทคโนโลยีต่างๆ เช่น การสื่อสาร เครือข่ายคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ไมโครคอนโทรลเลอร์ อุปกรณ์ระบบสมองกลฝังตัว อุปกรณ์เซ็นเซอร์ และข้อมูล เข้าด้วยกัน และด้วยราคาของอุปกรณ์ต่างๆ ที่ถูกลงสวนทางกับสมรรถนะที่ดีขึ้น ทำให้การพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์หรือบริการที่เป็น IoT เป็นไปได้โดยง่าย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ได้ตะหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การประยุกต์ใช้งาน Microcontroller กับเทคโนโลยี Internet of Things” ขึ้นเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการนำเทคโนโลยี IoT เพื่อเป็นการจุดประกาย และเป็นพื้นฐานแก่นักเรียนในระดับมัธยมศึกษา ในการพัฒนาหรือสร้างนวัตกรรม บริการ ผลิตภัณฑ์หรือมาตรฐานใหม่ ด้าน IoT ต่อไป

วัตถุประสงค์
1.. เพื่อเป็นการขยายโอกาสให้กับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ภายในจังหวัดอุบลราชธานีที่มีความสนใจ ได้เข้ามาศึกษาและเรียนรู้เทคโนโลยี ด้านเทคโนโลยี IoT
2.เพื่อกระตุ้นให้ นักเรียน เกิดความสนใจและจุดประกายแนวความคิดสร้างสรรค์ในเทคโนโลยีด้าน IoT เพื่อสามารถนำไปต่อยอดต่อไปได้
3.เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ให้เป็นที่รู้จักมากขึ้นในกลุ่มของโรงเรียนภายในจังหวัดอุบลราชธานี

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
นักเรียนระดับมัธยมศึกษา
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
40 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
วันที่ 12 พฤษภาคม 2561 ลักษณะกิจกรรม เวลา กิจกรรม 08.00 – 08.30 น. ลงทะเบียน 08.30 – 09.00 น. พิธีเปิด 09.00 – 09.30 น. สถาปัตยกรรมของไมโครคอนโทรเลอร์ Arduino ESP8266 บรรยาย 09.30 – 10.00 น. พื้นฐานภาษาซี สำหรับไมโครคอนโทรลเลอร์ บรรยาย 10.00 – 10.30 น. การใช้งาน Arduino IDE บรรยายและปฏิบัติ 10.30 – 10.45 น. พักเบรก 10.45 – 12.00 น. การควบคุมพอร์ตดิจิตอล บรรยายและปฏิบัติ 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารเที่ยง 13.00 – 14..30 น. การควบคุมพอร์ตอนาลอก บรรยายและปฏิบัติ 14.30 – 14.45 น. พักเบรก 14.45 – 16.00 น. การรับส่งข้อมูลผ่านพอร์ตอนุกรม บรรยายและปฏิบัติ วันที่ 13 พฤษภาคม 2561 ลักษณะกิจกรรม เวลา กิจกรรม 09.00 – 10.15 น. การควบคุม Servo motor บรรยายและบรรยาย 10.15 – 10.30 น. พักเบรก 10.30 – 12.00 น. การแสดงผลข้อมูลผ่านจอแสดงผล LCD บรรยายและปฏิบัติ 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารเที่ยง 13.00 – 14..30 น. การใช้งาน Wifi Module ESP8266 บรรยายและปฏิบัติ 14.30 – 14.45 น. พักเบรก 14.45 – 16.00 น. การควบคุมการปิดเปิดหลอดไฟ ผ่าน Smart Phone บรรยายและปฏิบัติ 16.00 – 16.30 น. Real time Time Temperature on Cloud บรรยายและปฏิบัติ

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2560
2561
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.เสนอโครงการ --- --- --- 0.00
2.อนุมัติโครงการ --- --- --- 0.00
3.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานฯ - -- --- --- 0.00
4.ประชาสัมพันธ์โครงการฯ --- --- --- 0.00
5.รับสมัครผู้เข้าร่วมการอบรมโครงการฯ --- -- - --- 0.00
6.ติดต่อผู้เข้าร่วมฝึกอบรมและวิทยากร --- -- - --- 0.00
7.จัดซื้อวัสดุ / เตรียมอุปกรณ์ สร้างชุดทดลอง --- -- - --- 0.00
8.จัดฝึกอบรมตามโครงการฯ --- --- - --- 0.00
9.ประเมินผลโครงการฯ --- --- - --- 0.00
10.สรุปและจัดทำรายงานของโครงการฯ --- --- --- - 0.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 - 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 รวมเวลา 2 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
16.00-16.30 Real time Time Temperature on Cloud ผศ.รัฐพงศ์ ปฏิกานัง
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
14.45-16.00 การรับส่งข้อมูลผ่านพอร์ตอนุกรม ผศ.รัฐพงศ์ ปฏิกานัง
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
14.30-14.45 พักเบรก
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
13.00-14.30 การควบคุมพอร์ตอนาลอก ผศ.รัฐพงศ์ ปฏิกานัง
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
12.00-13.00 รับประทานอาหารกลางวัน
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
10.45-12.00 การควบคุมพอร์ตดิจิตอล ผศ.รัฐพงศ์ ปฏิกานัง
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
10.30-10.45 พักเบรก
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
8.00-8.30 ลงทะเบียน
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
8.30-9.00 พิธีเปิด คณบดีหรือรองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
9.00-9.30 สถาปัตยกรรมของไมโครคอนโทรเลอร์ Arduino ESP8266 ผศ.รัฐพงศ์ ปฏิกานัง
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
9.30-10.00 พื้นฐานภาษาซี สำหรับไมโครคอนโทรลเลอร์ ผศ.รัฐพงศ์ ปฏิกานัง
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
10.00-10.30 การใช้งาน Arduino IDE ผศ.รัฐพงศ์ ปฏิกานัง
13 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
9.00-10.15 การควบคุม Servo motor ผศ.รัฐพงศ์ ปฏิกานัง
13 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
10.30-12.00 การแสดงผลข้อมูลผ่านจอแสดงผล LCD ผศ.รัฐพงศ์ ปฏิกานัง
13 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
12.00-13.00 รับประทานอาหารกลางวัน
13 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
13.00-14.30 การใช้งาน Wifi Module ESP8266 ผศ.รัฐพงศ์ ปฏิกานัง
13 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
14.30-14.45 พักเบรก
13 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
14.45-16.00 การควบคุมการปิดเปิดหลอดไฟ ผ่าน Smart Phone ผศ.รัฐพงศ์ ปฏิกานัง
13 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
10.15-10.30 พักเบรก

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : -
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : 1. สามารถขยายโอกาสในการเข้าถึงเทคโนโลยีด้าน IoT ให้กับโรงเรียนมัธยมศึกษา ภายในจังหวัดอุบลราชธานี และลดช่องว่างของความเหลื่อมล้ำทางด้านเทคโนโลยีของโรงเรียนต่างๆ 2.เป็นการเสริมสร้างให้ นักเรียนมีการประยุกต์ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์กับเซนเซอร์และการทดลองทางวิทยาศาสตร์ และเกิดความตื่นตัวในเทคโนโลยีด้าน IoT มากขึ้น 3.เป็นการเสริมสร้างให้ นักเรียน มีทัศนคติที่ดีต่อวิทยาการและความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีด้านไมโครคอนโทรลเลอร์และเซนเซอร์เกิดความตื่นตัวในเทคโนโลยีด้าน IoT มากขึ้น

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
40
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
เป็นการเพิ่มทักษะให้กับนักเรียน ทางด้านการประยุกต์ใช้งาน microcontroller กับเทคโนโลยี Internet of things ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่สอดคล้อง กับนโยบาย Thailand 4.0

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
หลักสูตร วิศวกรรมเครื่องกล
นักศึกษาชั้นปี : 2
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน การเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมการทำงานของ microcontroller
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด นักศึกษาทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยวิทยากร
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 13,440.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 7,200.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 7,200.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
7,200.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 240.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันหยุดราชการ ( รวม 240.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 1 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
240.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 6,000.00 บาท )
1) ค่าตอบแทนผู้ช่วยวิทยากรจำนวน 5 คน x จำนวน 12 ชม. x จำนวน 100.00 บาท/ชม.
=
6,000.00 บาท

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 20,750.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 4,000.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 40 คน
=
4,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 6,750.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 75.00 บาท x จำนวน 45 คน
=
6,750.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 10,000.00 บาท )
1) ค่าจ้างจัดทำเซ็นเซอร์
=
10,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 31,080.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 2,080.00 บาท )
1) กระดาษA4
3 x 560 บาท
=
1,680 บาท
2) ปากกา
40 x 5 บาท
=
200 บาท
3) ดินสอ
40 x 5 บาท
=
200 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 5,000.00 บาท )
1) แผ่นพับ
100 x 20 บาท
=
2,000 บาท
2) ค่าทำสื่อนำเสนอกิจกรมมที่ทำในวันอบรม เพื่อเผยแพร่สู่สาธารณะ
1 x 3,000 บาท
=
3,000 บาท

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 24,000.00 บาท )
1) ไมโครคอนโทรลเลอร์
=
24,000.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 65,270.00 บาท