แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2561
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ การอบรมการเขียนโปรแกรมMTSซีเอ็นซีสำหรับงานกัด และงานกลึง
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : พัฒนาระบบและกลไกการบริการวิชาการอย่างมีส่วนร่วมให้มีประสิทธิภาพ ตามนโยบาย/ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยและประเทศ
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็ง ความมั่นคงด้านอาชีพ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายกฤตยา ไชยยศ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา :
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
หัวหน้าโครงการ
นายนันทวัฒน์ วีระยุทธ คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : วิศวกรรมเครื่องกล
ประสบการณ์ : ปี พ.ศ. 2554 – 2556 : หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปี พ.ศ. 2548-2553 : ผู้ช่วยสอนและผู้ช่วยนักวิจัยที่ Institut fuer Technische Mechanik (Dynamik/Mechatronik) ,Karlsruher Institut fuer Technologie ปี พ.ศ. 2540- ปัจจุบัน : อาจารย์ ประจำภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ความเชี่ยวชาญ : - กลศาสตร์ประยุกต์เน้นพลศาสตร์ , พลศาสตร์ของเครื่องจักรกลและ Rotor Dynamics - การออกแบบเครื่องจักรกล - การสั่นสะเทือนทางกลและการวิเคราะห์การสั่นสะเทือน - การควบคุมอัตโนมัติ ระบบออโตเมชัน และ ระบบเมคคาทรอนิคส์ - Optimization Techniques / Evolutionary Algorithms - Finite Element Analysis สาหรับระบบทางวิศวกรรมเครื่องกล - Sensor & Actuator Technologies, Piezoelectric Actuators & Sensors - Smart Energy Management Technologies - Artificial Intelligence, Neural Network - PLC –s7 / CNC-Milling Programming - Energy Management in Industries - Friction Welding Process - Renewable Energy Technologies - Wood Pellet Manufacturing Processes, Wood Pellet Burner
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
ในปัจจุบัน ชิ้นส่วนสำคัญในเครื่องจักรต่างๆไม่ว่าจะเป็นชิ้นส่วนของรถยนต์ เครื่องบิน หรือเครื่องจักรอื่นๆ เริ่มที่จะมีความซับซ้อนของตัวชิ้นส่วนเองที่ค่อนข้างมาก ทั้งในแง่ของรูปร่าง และขนาด จึงจำเป็นที่จะต้องพัฒนาเทคโนโลยีในการผลิต ที่สามารถรองรับการผลิตชิ้นส่วนที่มีความซับซ้อนเหล่านั้นให้ได้ เครื่องซีเอ็นซีจัดเป็นเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิตที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อรองรับการผลิตชิ้นส่วนที่มีรูปร่างซับซ้อน และต้องการขนาดที่แม่นยำ ซึ่งปัจจุบันได้มีการนำมาใช้อย่างแพร่หลายในภาคอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วน ไม่ว่าจะเป็นยานยนต์ หรืออากาศยาน ดังนั้นการสร้างความรู้ความเข้าใจและทักษะพื้นฐานในการเขียนโปรแกรมซีเอ็นซี จะช่วยให้สามารถนำความรู้ไปต่อยอดเพื่อใช้ในภาคอุตสาหกรรมต่อไปได้

วัตถุประสงค์
1. 1.เพื่อเสริมสร้างความรู้ในการเขียนโปรแกรมซีเอ็นซีให้กับผู้ประกอบการรายย่อย และโรงงานอุตสาหกรรมที่อยู่ภายในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานีและใกล้เคียง
2.2.เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ให้เป็นที่รู้จักมากขึ้นในกลุ่มผู้ประกอบการรายย่อย และโรงงานอุตสาหกรรมที่อยู่ภายในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี
3. 3.เพื่อเป็นการสร้างเครือข่ายทางวิชาการกับหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัยในการจัดกิจกรรมทางวิชาการและกิจกรรมด้านอื่นๆ ร่วมกัน

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
นักศึกษา วิศวกร ช่างเทคนิค ผู้ประกอบการรายย่อย โรงงานอุตสาหกรรม และผู้สนใจทั่วไปที่อยู่ภายในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานีและใกล้เคียง
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
20 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
เรียนรู้วิธีการเขียนคำสั่ง G-code ขั้นพื้นฐานเพื่อขึ้นรูปชิ้นงานโดยใช้โปรแกรม MTS CNC เป็นเครื่องมือหลักในการแสดงผล

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2560
2561
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.ตั้งคณะกรรมการดำเนินงานฯ --- -- --- --- 0.00
2.ประชาสัมพันธ์โครงการฯ --- --- -- --- 0.00
3.รับสมัครผู้เข้าร่วมการอบรมโครงการฯ --- --- -- --- 0.00
4.ติดต่อผู้เข้าร่วมฝึกอบรมและวิทยากร --- --- -- --- 0.00
5.จัดซื้อวัสดุ/เตรียมอุปกรณ์ --- --- -- --- 0.00
6.จัดฝึกอบรมตามโครงการฯ --- --- -- --- 0.00
7.ประเมินผลโครงการฯ --- --- -- --- 0.00
8.สรุปและจัดทำรายงานของโครงการฯ --- --- -- --- 0.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 - 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 รวมเวลา 2 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
28 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
08.30 – 16.30 น. พื้นฐานการเขียนโปรแกรมเครื่องกัดซีเอ็นซี นายกฤตยา ไชยยศ และ นายนันทวัฒน์ วีระยุทธ
29 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
08.30 – 16.30 น. ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมเครื่องกัดซีเอ็นซี นายกฤตยา ไชยยศ และ นายนันทวัฒน์ วีระยุทธ

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ :
ด้านสังคม :
ด้านสิ่งแวดล้อม :
ด้านอื่นๆ : 1. สามารถขยายโอกาสในการเข้าถึงเทคโนโลยีด้านซีเอ็นซีให้กับนักศึกษา ผู้ประกอบการรายย่อย ผู้สนใจทั่วไป และโรงงานอุตสาหกรรมที่อยู่ภายในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานีและใกล้เคียง 2. เสริมสร้างความรู้ด้านซีเอ็นซี และสร้างความตื่นตัวในเทคโนโลยี รวมทั้งมีทัศนคติที่ดีต่อวิทยาการด้านนี้มากขึ้น 3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีทัศนคติที่ดีต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เกิดความร่วมมือทางวิชาการและการจัดกิจกรรมร่วมกัน ระหว่างคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และผู้ประกอบการรายย่อย และโรงงานอุตสาหกรรมที่อยู่ภายในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
20
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
90
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-ไม่มีข้อมูล

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา เทคโนโลยีซีเอ็นซี
หลักสูตร วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต
นักศึกษาชั้นปี : 3-4
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน นักศึกษาสามารถเขียนโปรแกรมซีเอ็นซีสำหรับงานกัด และงานกลึงได้
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 18,800.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 14,400.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 14,400.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
14,400.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 4,400.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 2,000.00 บาท )
1) จำนวน 20 วัน x จำนวน 2 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
2,000.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 2,400.00 บาท )
1) จำนวน 20 วัน x จำนวน 2 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
2,400.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 29,000.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 3,000.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 30.00 บาท x จำนวน 25 คน
=
3,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 5,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 100.00 บาท x จำนวน 25 คน
=
5,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 5,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 คน x จำนวน 1 เดือน x เดือนละ 5,000.00 บาท
=
5,000.00 บาท

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 16,000.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการอบรม
=
5,000.00 บาท
2) ค่าเช่าห้องอบรม
=
6,000.00 บาท
3) ค่าจ้างเหมาทำสื่อประชาสัมพันธ์
=
5,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 0.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 47,800.00 บาท