แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2561
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ การออกแบบสร้างสื่อการเรียนการสอนและทักษะการใช้สำหรับบทปฏิบัติการทางฟิสิกส์ สำหรับครูระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายการบริการวิชาการกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในด้านสังคมสูงวัย ด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษา ด้านการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ และการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แก่ชุมชน / สังคม / กลุ่มวิชาชีพ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายสายชล พิมพ์มงคล คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : เทคโนโลยีทางการศึกษา
ประสบการณ์ : -วิทยากรอบรมโครงงานวิทยาศาสตร์ -วิทยากรอบรมห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ -วิทยากรอบรมครูสร้างสื่อการเรียนการสอนแบบมืออาชีพ -วิทยากรอบรมฟิสิกส์โอลิมปิก -วิทยากรอบรมคูปองครู -วิทยากรอบรมสเต็มศึกษา
ความเชี่ยวชาญ : -ซ่อมและพัฒนาเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ -ออกแบบปรับปรุงและสร้างสื่อการเรียนการสอนทางฟิสิกส์
หัวหน้าโครงการ
นายเชิดชัย วุฒิยา คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : ฟิสิกส์
ประสบการณ์ : -อาจารย์สอนวิชาฟิสิกส์ ดาราศาสตร์ในมหาวิทยาลัย -วิทยากรดาราศาสตร์โอลิมปิก -วิทยากรอบรมห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์
ความเชี่ยวชาญ : -ออกแบบสร้างชุดทดลองทางฟิสิกส์ดาราศาสตร์
ผู้ร่วมโครงการ
ดร.อมร เทศสกุลวงศ์ คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : ฟิสิกส์
ประสบการณ์ : -อาจารย์สอนวิชาฟิสิกส์ในมหาวิทยาลัย -วิทยากรฟิสิกส์โอลิมปิก -วิทยากรอบรมห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์
ความเชี่ยวชาญ : -ออกแบบพัฒนาเครื่องมืออุปกรณ์การทดลองทางฟิสิกส์ -งานวิจัยทางสุญญากาศ
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนในบางพื้นที่ ยังขาดแคลนอุปกรณ์ หรือสื่อการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ ทำให้นักเรียนเกิดความเบื่อหน่ายต่อการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรายวิชาฟิสิกส์ ส่งผลให้ไม่สามารถเข้าใจบทเรียนได้ดีเท่าที่ควร เพื่อเป็นการกระตุ้นการเรียนรู้ของนักเรียน ครูผู้สอนจำเป็นจะต้องผลิตสื่อการเรียนการสอนที่ช่วยพัฒนาความคิด พัฒนาศักยภาพผู้เรียน ดึงดูดความสนใจและให้ความสนุกสนานแก่ผู้เรียนได้ ซึ่งในบางพื้นที่พบกับปัญหาในการจัดการเรียนการสอน อาทิเช่น ขาดแคลนสื่อหรืออุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนการสอนทางรายวิชาฟิสิกส์ ในการที่จะพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของนักเรียน หรือมีงบประมาณจำกัดในการจัดซื้อชุดอุปกรณ์ปฏิบัติการพื้นฐานต่างๆ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มีภารกิจด้านบริการวิชาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและสังคม โดยมุ่งเน้นพัฒนาครูและบุคลากรในโรงเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ดังนั้นคณะผู้รับผิดชอบโครงการได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าวจึงได้เสนอโครงการ การออกแบบสร้างสื่อการเรียนการสอนและทักษะการใช้สำหรับบทปฏิบัติการทางฟิสิกส์ สำหรับครูระดับมัธยมศึกษาตอนปลายขึ้น เพื่อนำสื่อที่ได้ไปใช้ในการทดลองสำหรับการเรียนการสอนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และเพื่อเป็นการเสริมสร้างให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการผลิตและใช้สื่อการเรียนรู้ ทั้งยังเป็นการกระตุ้นให้ครูผู้สอนได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์จากการได้สร้างสื่อการเรียนการสอนอันจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของเยาวชนให้พร้อมทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมอาเซียนและสังคมโลกในลำดับต่อไป

วัตถุประสงค์
1.1.ครูมีความรู้ความเข้าใจและทักษะในการประดิษฐ์สื่อการเรียนรู้ทางฟิสิกส์เรื่องการแทรกสอดของแสงและมัลติมิเตอร์
2.2.ครูสามารถใช้สื่อการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นในการจัดการเรียนการสอนจริงได้
3.3.ครูสามารถผลิตสื่อการสอนราคาถูกได้

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
ครูสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในโรงเรียนมัธยมศึกษา ในเขตจังหวัดอุบลราชธานีและใกล้เคียง โดยเน้นให้ความสำคัญกับโรงเรียนเครือข่ายของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีก่อน
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
50 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. เสนอโครงการ/อนุมัติโครงการ 2.ประชาสัมพันธ์โครงการฯ/รับสมัครผู้เข้าร่วมการอบรมโครงการฯ 3. ติดต่อผู้เข้าร่วมฝึกอบรมและวิทยากร/ซื้อวัสดุฝึกทดลอง 4. จัดฝึกอบรมตามโครงการฯ 5. ประเมินผลโครงการฯ 6. สรุปและจัดทำรายงานของโครงการฯ

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2560
2561
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.เสนอโครงการ/อนุมัติโครงการ --- --- --- 140,000.00
2.ประชาสัมพันธ์โครงการฯ/รับสมัครผู้เข้าร่วมการอบรมโครงการฯ - - --- --- 0.00
3.ติดต่อผู้เข้าร่วมฝึกอบรมและวิทยากร/จัดซื้อวัสดุและจ้างสร้างชุดฝึกทดลอง -- - --- --- 0.00
4.จัดฝึกอบรมตามโครงการฯ/ประเมินผลโครงการฯหลังการอบรม --- -- - --- 0.00
5.สรุปและจัดทำรายงานของโครงการฯ --- --- - --- 0.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2561 - 1 เมษายน พ.ศ. 2561 รวมเวลา 3 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
30 มีนาคม พ.ศ. 2560
08.00-09.00 น. ลงทะเบียน สายชล พิมพ์มงคล, ดร.อมร เทศสกุลวงศ์, เชิดชัย วุฒิยา
30 มีนาคม พ.ศ. 2561
14.45-16.30 น. การออกแบบสร้างสื่อการเรียนการสอน เรื่อง การแทรกสอดของแสง (ต่อ) สายชล พิมพ์มงคล, ดร.อมร เทศสกุลวงศ์, เชิดชัย วุฒิยา
30 มีนาคม พ.ศ. 2561
14.30-14.45 น. รับประทานอาหารว่าง
30 มีนาคม พ.ศ. 2561
13.00-14.30 น. การออกแบบสร้างสื่อการเรียนการสอน เรื่อง การแทรกสอดของแสง (ต่อ) สายชล พิมพ์มงคล, ดร.อมร เทศสกุลวงศ์, เชิดชัย วุฒิยา
30 มีนาคม พ.ศ. 2561
12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
30 มีนาคม พ.ศ. 2561
10.45-12.00 น. การออกแบบสร้างสื่อการเรียนการสอน เรื่อง การแทรกสอดของแสง สายชล พิมพ์มงคล, ดร.อมร เทศสกุลวงศ์, เชิดชัย วุฒิยา
30 มีนาคม พ.ศ. 2561
10.30-10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง
30 มีนาคม พ.ศ. 2561
09.00-10.30 น. อธิบายหลักการที่มา สายชล พิมพ์มงคล, ดร.อมร เทศสกุลวงศ์, เชิดชัย วุฒิยา
31 มีนาคม พ.ศ. 2561
14.45-16.30 น. การออกแบบสร้างสื่อการเรียนการสอน เรื่อง มัลติมิเตอร์ (ต่อ) สายชล พิมพ์มงคล, ดร.อมร เทศสกุลวงศ์, เชิดชัย วุฒิยา
31 มีนาคม พ.ศ. 2561
14.30-14.45 น. รับประทานอาหารว่าง
31 มีนาคม พ.ศ. 2561
13.00-14.30 น. การออกแบบสร้างสื่อการเรียนการสอน เรื่อง มัลติมิเตอร์ สายชล พิมพ์มงคล, ดร.อมร เทศสกุลวงศ์, เชิดชัย วุฒิยา
31 มีนาคม พ.ศ. 2561
12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
31 มีนาคม พ.ศ. 2561
10.45-12.00 น. ทักษะการใช้ชุดปฏิบัติการการแทรกสอดทางแสง (ต่อ) สายชล พิมพ์มงคล, ดร.อมร เทศสกุลวงศ์, เชิดชัย วุฒิยา
31 มีนาคม พ.ศ. 2561
10.30-10.45 น. พักรับประมานอาหารว่าง
31 มีนาคม พ.ศ. 2561
09.00-10.30 ทักษะการใช้ชุดปฏิบัติการการแทรกสอดทางแสง สายชล พิมพ์มงคล, ดร.อมร เทศสกุลวงศ์, เชิดชัย วุฒิยา
1 เมษายน พ.ศ. 2561
14.45-16.30 น. ทักษะการใช้ชุดปฏิบัติการ มัลติมิเตอร์ (ต่อ) สายชล พิมพ์มงคล, ดร.อมร เทศสกุลวงศ์, เชิดชัย วุฒิยา
1 เมษายน พ.ศ. 2561
14.30-14.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง
1 เมษายน พ.ศ. 2561
13.00-14.30 น. ทักษะการใช้ชุดปฏิบัติการ มัลติมิเตอร์ สายชล พิมพ์มงคล, ดร.อมร เทศสกุลวงศ์, เชิดชัย วุฒิยา
1 เมษายน พ.ศ. 2561
12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
1 เมษายน พ.ศ. 2561
10.45-12.00 น. การออกแบบสร้างสื่อการเรียนการสอน เรื่อง มัลติมิเตอร์ (ต่อ) สายชล พิมพ์มงคล, ดร.อมร เทศสกุลวงศ์, เชิดชัย วุฒิยา
1 เมษายน พ.ศ. 2561
10.30-10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง
1 เมษายน พ.ศ. 2561
09.00-10.30 น. การออกแบบสร้างสื่อการเรียนการสอน เรื่อง มัลติมิเตอร์ (ต่อ) สายชล พิมพ์มงคล, ดร.อมร เทศสกุลวงศ์, เชิดชัย วุฒิยา
1 เมษายน พ.ศ. 2561
16.30-17.00 น. สรุป กล่าวปิดการอบรม มอบใบประกาศนียบัตร สายชล พิมพ์มงคล, ดร.อมร เทศสกุลวงศ์, เชิดชัย วุฒิยา

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -เป็นการลดต้นทุนในการจัดซื้อชุดปฏิบัติการจากต่างประเทศในราคาแพง
ด้านสังคม : - เผยแพร่กิจกรรมกิจกรรมบริการวิชาการด้านการสร้างสื่อการเรียนการสอนทางฟิสิกส์และประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีให้แก่ครูระดับมัธยมศึกษา -ครูมีความรู้ด้านการสร้างสื่อการเรียนการสอนเพิ่มขึ้น
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
50
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
- ครูได้สื่อการสอนที่ราคาถูกท้องตลาด

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา วิชา ปฏิบัติการโรงงาน
หลักสูตร ฟิสิกส์
นักศึกษาชั้นปี : นักศึกษาชั้นปี : 2
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน นักศึกษาสอบผ่านรายวิชานี้
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด นักศึกษาทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยวิทยากร
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ นักศึกษาทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยวิทยากร

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 32,400.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 32,400.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 32,400.00 บาท )
1) จำนวน 3 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
32,400.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 39,150.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 9,750.00 บาท )
1) จำนวน 6 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 65 คน
=
9,750.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 19,500.00 บาท )
1) จำนวน 3 มื้อ x มื้อละ 100.00 บาท x จำนวน 65 คน
=
19,500.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 9,900.00 บาท )
1) จำนวน 1 คน x จำนวน 3 เดือน x เดือนละ 300.00 บาท
=
900.00 บาท
2) จำนวน 10 คน x จำนวน 1 เดือน x เดือนละ 900.00 บาท
=
9,000.00 บาท

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 68,450.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 5,000.00 บาท )
1) หมึกปริ้นสี
4 x 1,100 บาท
=
4,400 บาท
2) กระดาษ A4
4 x 100 บาท
=
400 บาท
3) กระดาษพิมพ์ใบประกาศ
1 x 200 บาท
=
200 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 4,200.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
1 x 2,000 บาท
=
2,000 บาท
2) ป้ายไวนิล
1 x 1,200 บาท
=
1,200 บาท
3) ค่าแสตมป์ไปรษณีย์
50 x 20 บาท
=
1,000 บาท

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 59,250.00 บาท )
1) ค่าวัสดุฝึก
=
59,250.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 140,000.00 บาท