แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2561
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ ความปลอดภัย การตรวจสอบ การบำรุงรักษาอุปกรณ์ระบบไฟฟ้าและระบบควบคุมมอเตอร์ปั้มน้ำระบบประปาหมู่บ้าน
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายการบริการวิชาการกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในด้านสังคมสูงวัย ด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษา ด้านการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ และการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แก่ชุมชน / สังคม / กลุ่มวิชาชีพ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายผดุง กิจแสวง คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
ประสบการณ์ : วิจัยและสอนปฏิบัติการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 18 ปี
ความเชี่ยวชาญ : - Microcontroller application - Embebded system - PLC application - Electrical Machine Drive and Control
หัวหน้าโครงการ
ดร.ประชา คำภัคดี คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : : D.Eng. (Electrical Engineering), Tokyo Institute of Technology (TIT), Tokyo, Japan
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ : : Power Electronics: inverters, converters, grid connected interfacing Renewable Energy: Solar cell, Fuel cell Electric Drives and Automation system Electromagnetic Compatibility (EMC): EMI emissions on power converters Modular multilevel cascade converters for utility applications
ผู้ร่วมโครงการ
นายธนกร ลิ้มสุวรรณ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : วศม.สาขาวิศวกรรมเครื่องกล(พลังงาน) มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ประสบการณ์ : อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
ความเชี่ยวชาญ : เซลล์สุริยะ ไมโครคอนโทลเลอร์ ระบบควบคุม โปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผู้ร่วมโครงการ
นายสมนึก เวียนวัฒนชัย คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : อิเล็กทรอนิกส์โทรคมนาคม
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
ผู้ร่วมโครงการ
นายวิชชุกร อุดมรัตน์ คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : สาขาไฟฟ้า
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
ผู้ร่วมโครงการ
ดร.ธีรวุฒิ ไชยธรรม คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : วศ.ด. (วิศวกรรมไฟฟ้า) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ประสบการณ์ : Stability and control of power system and microgrid Heuristic methodology and optimization methods Fuzzy logic control application in power system.
ความเชี่ยวชาญ : Power system stability and control.
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
น้ำนับว่าเป็นทรัพยากรที่มีประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต ดังนั้นรัฐบาลจึงได้เร่งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้ก่อสร้างระบบประปาประจำหมู่บ้านและชุมชน ในการใช้งานระบบประปาหมู่บ้านให้มีประสิทธิภาพ และมีอายุการใช้งานที่ยืนยาว สามารถแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำสำหรับอุปโภคบริโภค ให้กับประชาชนมีน้ำประปาสะอาด คุณภาพดีซึ่งจะต้องมีการดูแลและบำรุงรักษาระบบประปาและระบบอย่างถูกต้อง สาเหตุหนึ่งที่ทำให้ระบบประปาไม่สามารถใช้งานได้ดีตามวัตถุประสงค์คือ การชำรุดของอุปกรณ์ไฟฟ้าและอุปกรณ์ควบคุมการปั้มน้ำและตัวมอเตอร์ปั้มน้ำเอง เนื่องจากขาดผู้มีความรู้ความเข้าใจเข้ามาตรวจสอบระบบ ดังนั้นคณะผู้จัดเสนอโครงการฯ จึงได้เสนอโครงการ การดูแลบำรุงรักษาระบบไฟฟ้าและระบบควบคุมมอเตอร์ปั้มน้ำของระบบประปาหมู่บ้าน เพื่อให้ระบบผลิตประปาได้ทำงานเต็มศักยภาพของอุปกรณ์ และประชาชนมีน้ำประปาสะอาด คุณภาพดีใช้อย่างต่อเนื่องและไม่ขาดแคลน นอกจากนี้ยังเป็นการสร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภายนอกในการจัดกิจกรรมร่วมกันและเป็นการประชาสัมพันธ์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ให้เป็นที่รู้จักมากขึ้นภายในจังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดในเขตพื้นทีบริการ

วัตถุประสงค์
1.เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ ทักษะเกี่ยวกับระบบไฟฟ้ากับระบบประปาหมู่บ้านหรือชุมชน
2.เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ ทักษะเกี่ยวกับการตรวจสอบการบำรุงรักษาระบบคุมควบและมอเตอร์ปั้มน้ำ
3.ให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองในด้านการตรวจสอบการบำรุงรักษาระบบคุมควบและมอเตอร์ปั้มน้ำได้
4.การสร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภายนอกในการจัดกิจกรรมร่วมกันและเป็นการประชาสัมพันธ์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
5.การสร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภายนอกในการจัดกิจกรรมร่วมกันและเป็นการประชาสัมพันธ์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
ผู้นำชุมชน ผู้แทนหมู่บ้านและชุมชน ชาวบ้าน เกษตรกร ที่ทำหน้าที่รับผิดชอบในการดูแลระบบประปาหมู่บ้านและชุมชน ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
40 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
เสนอโครงการ 2. อนุมัติโครงการ 3. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานฯ 4. ประชาสัมพันธ์โครงการฯ 5. รับสมัครผู้เข้าร่วมการอบรมโครงการฯ 6.ติดต่อผู้เข้าร่วมฝึกอบรมและวิทยากร 7. ซื้ออุปกรณ์การทดลองและจ้างเหมาสร้างชุดฝึกทดลอง 8. จัดฝึกอบรมตามโครงการฯ 9. ประเมินผลโครงการฯ 10. สรุปและจัดทำรายงานของโครงการฯ

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2560
2561
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.อนุมัติโครงการ --- -- --- --- 0.00
2.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานฯ --- -- -- --- 0.00
3.ประชาสัมพันธ์และรับสมัครผู้เข้าร่วมการอบรมโครงการฯ --- --- - --- 0.00
4.ติดต่อผู้เข้าร่วมฝึกอบรมและวิทยากรพร้อมกับซื้ออุปกรณ์การทดลองและจ้างเหมาสร้างชุดฝึกทดลอง --- --- --- 100,000.00
5.จัดฝึกอบรมตามโครงการฯ ประเมินผลโครงการฯ สรุปและจัดทำรายงานของโครงการฯ --- --- -- -- 0.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 - 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 รวมเวลา 2 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
26 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
08.30 ระบบผลิตน้าประปา การดำเนินกิจการประปาหมู่บ้านและประปาชุมชนอย่างยั่งยืน ทีมวิทยากรจากการประปาส่วนภูมิภาคและมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
26 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
10.30-12.00 ระบบไฟฟ้าสำหรับงานประปาชุมชน และการตวจสอบ การบำรุงรักษา และความปลอดภัย นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ ดร.ประชา คำภัดดี นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
26 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
13.00-14.30 การติดตั้งการตรวจสอบระบบควมคุมปั้มน้ำ นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ ดร.ประชา คำภัดดี นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
26 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
14.30 -16.30 การติดตั้งการตรวจสอบระบบควมคุมปั้มน้ำ นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ ดร.ประชา คำภัดดี นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
27 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
08.30 - 12.00 การบำรุงรักษาอุปกรณ์ระบบควมคุมปั้มน้ำ นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ ดร.ประชา คำภัดดี นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
27 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
13.00 -16.30 การบำรุงรักษามอเตอร์ปั้มน้ำแบบหนึ่งเฟสและสามเฟสและการประหยัดไฟฟ้าในระบบประปาหมู่บ้าน นายผดุง กิจแสวง นายวุฒิไกร สร้อยสิงห์ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย นายวิชชุกร อุดมรัตน์

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : ให้ตัวแทนชุมชน ที่เข้าร่วมการอบรมที่ได้รับความรู้สามารถนำความรู้ไปใช้ในการ ตรวจสอบ บำรุงรักษาระบบไฟฟ้า และระบบความคุมมอเตอร์ปั้มน้ำได้ด้วยตัวเอง ลดค่าใช้จ่ายในการจ้างช่างซ่อมบำรุง
ด้านสังคม : 1.เสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม 2.เป็นการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม ด้านการตรวจสอบ บำรุงรักษา ระบบประปาหมู่บ้านจำนวนเพิ่มมากขึ้น 3.ผู้แทนชุมชนที่เข้าร่วมอบรมลดช่องว่างของความเหลื่อมล้ำทางด้านความรู้ด้านการตรวจสอบการบำรุงรักษา ระบบประปาหมู่ ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี 4.เกิดความร่วมมือทางวิชาการและการจัดกิจกรรมร่วมกัน ระหว่างคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี กับชุมชนในจังหวัดอุบลราชธานีและใกล้เคียง
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
30
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
2500

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา วิชา 1306 221 ปฏิบัติการเครื่องจักรกลไฟฟ้า
หลักสูตร หลักสูตร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
นักศึกษาชั้นปี : นักศึกษาชั้นปีที่ 2
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ร้อยละ 80 ของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เพิ่มขึ้นสามารถสอบผ่านวิชา 1306 221 ปฏิบัติการเครื่องจักรกลไฟฟ้า
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด ร้อยละ 10 ของนักศึกษาที่เรียน วิชา 1306 221 ปฏิบัติการเครื่องกลไฟฟ้า ที่มีส่วนร่วมในการให้บริการวิชาการ
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ จำนวนนักศึกษาร้อยละ 50 เป็นผู้ช่วยวิทยากร

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 30,000.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 28,800.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 28,800.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 4 คน
=
28,800.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 1,200.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 1,200.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
1,200.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 22,800.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 4,800.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 30.00 บาท x จำนวน 40 คน
=
4,800.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 8,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 100.00 บาท x จำนวน 40 คน
=
8,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 10,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 คน x จำนวน 1 เดือน x เดือนละ 10,000.00 บาท
=
10,000.00 บาท

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 47,200.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 1,000.00 บาท )
1) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
1 x 1,000 บาท
=
1,000 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 700.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาทำผ้าป้ายไวนิล
2 x 350 บาท
=
700 บาท

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 45,500.00 บาท )
1) วัสดุฝึกอบรม 10 ชุด
=
45,500.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 100,000.00 บาท