แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2561
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ ความปลอดภัย การตรวจสอบ การบำรุงรักษาอุปกรณ์ไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้าในโรงเรียน
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : พัฒนาระบบและกลไกการบริการวิชาการอย่างมีส่วนร่วมให้มีประสิทธิภาพ ตามนโยบาย/ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยและประเทศ
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้แก่เด็ก เยาวชนตามแนวพระราชดำริฯ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายผดุง กิจแสวง คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
ประสบการณ์ : วิจัยและสอนปฏิบัติการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 18 ปี
ความเชี่ยวชาญ : - Microcontroller application - Embebded system - PLC application - Electrical Machine Drive and Control
หัวหน้าโครงการ
นายสมนึก เวียนวัฒนชัย คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : อิเล็กทรอนิกส์โทรคมนาคม
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
ผู้ร่วมโครงการ
ดร.ประชา คำภัคดี คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : : D.Eng. (Electrical Engineering), Tokyo Institute of Technology (TIT), Tokyo, Japan
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ : : Power Electronics: inverters, converters, grid connected interfacing Renewable Energy: Solar cell, Fuel cell Electric Drives and Automation system Electromagnetic Compatibility (EMC): EMI emissions on power converters Modular multilevel cascade converters for utility applications
ผู้ร่วมโครงการ
ดร.ธีรวุฒิ ไชยธรรม คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : วศ.ด. (วิศวกรรมไฟฟ้า) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ประสบการณ์ : Stability and control of power system and microgrid Heuristic methodology and optimization methods Fuzzy logic control application in power system.
ความเชี่ยวชาญ : Power system stability and control.
ผู้ร่วมโครงการ
นายวิชชุกร อุดมรัตน์ คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : สาขาไฟฟ้า
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
เนื่องจากปัจจุบันพบว่าโรงเรียนในต่างจังหวัดมักเกิดอัคคีภัยขึ้น หรือกระแสไฟฟ้ารั่วโดยสาเหตุส่วน ใหญ่มาจากระบบไฟฟ้าที่ชำรุด ไฟฟ้าลัดวงจร การใช้ไฟฟ้าเกินขนาด หรือการใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ไม่ได้มาตรฐานหรือไม่มีคุณภาพ ซึ่งผลจากการเกิดอัคคีภัยดังกล่าวหรือ เด็กนักเรียนถูกไฟดูดเสียชีวิต ทำให้โรงเรียนเกิดความเสียหายทั้งทรัพย์สินและอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตของครู นักเรียน ตลอดจนส่งผลกระทบต่อจิตใจของนักเรียนในโรงเรียน ดังนั้น เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียน สามารถดำเนินการเรียนการสอน การป้องกัน ตรวจสอบรักษาความปลอดภัยทางด้านระบบไฟฟ้า ทั้งในเชิงบริหารจัดการและการให้ความรู้เบื้องต้นแก่ครู/นักเรียน นัการภารโรง ในโรงเรียน และเป็นการกระตุ้นให้นักเรียน มีความสนใจเรียนวิชาการด้านไฟฟ้า และความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้า คณะทำงานโครงการฯ จึงได้เสนอโครงการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง "ความปลอดภัย การตรวจสอบ การบำรุงรักษาอุปกรณ์ไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้าในโรงเรียน นอกจากนี้ยังเป็นการสร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภายนอกในการจัดกิจกรรมร่วมกันและเป็นการประชาสัมพันธ์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ให้เป็นที่รู้จักมากขึ้นภายในจังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดในเขตพื้นทีบริการ

วัตถุประสงค์
1.รู้จักวงจรไฟฟ้าพื้นฐานและการใช้เครื่องมือวัดไฟฟ้า
2.รู้จักวิธีตรวจสอบการความปลอดภัยและสภาพของอุปกรณ์ไฟฟ้า
3.รู้จักการตรวจสอบและบำรุงรักษาเครื่องใช้ไฟฟ้าเบื้องต้น
4.เป็นความรู้พื้นฐานของนักเรียนในการเรียนด้านไฟฟ้าต่อไป

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
ครู นักเรียน นักการภารโรง ระดับมัธยมศึกษาและอาชีวศึกษาในเขตพื้นที่บริการ
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
40 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. เสนอโครงการ 2. อนุมัติโครงการ 3. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานฯ 4. ประชาสัมพันธ์โครงการฯ 5. รับสมัครผู้เข้าร่วมการอบรมโครงการฯ 6.ติดต่อผู้เข้าร่วมฝึกอบรมและวิทยากร 7. ซื้ออุปกรณ์การทดลองและจ้างเหมาสร้างชุดฝึกทดลอง 8. จัดฝึกอบรมตามโครงการฯ 9. ประเมินผลโครงการฯ 10. สรุปและจัดทำรายงานของโครงการฯ

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2560
2561
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.อนุมัติโครงการ -- -- --- --- 0.00
2.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานฯ --- - --- --- 0.00
3.ประชาสัมพันธ์และรับสมัครผู้เข้าร่วมการอบรมโครงการฯ --- --- --- 0.00
4.ติดต่อผู้เข้าร่วมฝึกอบรมและวิทยากรพร้อมกับซื้ออุปกรณ์การทดลองและจ้างเหมาสร้างชุดฝึกทดลอง --- --- --- 100,000.00
5.จัดฝึกอบรมตามโครงการฯ ประเมินผลโครงการฯ สรุปและจัดทำรายงานของโครงการฯ --- -- -- --- 0.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2561 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2561 รวมเวลา 2 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
24 มีนาคม พ.ศ. 2561
08.30 - 12.00 อุปกรณ์ไฟฟ้าและความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้า นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ ดร.ประชา คำภัดดี นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
24 มีนาคม พ.ศ. 2561
13.00 -16.30 การทดสอบอุปกรณ์ไฟฟ้าเบื้องต้น การต่อวงจรทางไฟฟ้าเบื้องต้น นายผดุง กิจแสวง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ ดร.ประชา คำภัดดี นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
25 มีนาคม พ.ศ. 2561
08.30 - 12.00 การใช้เครื่องวัดประมาณทางไฟฟ้า การตรวจสอบความปลอดภัยของอุปกรณ์ไฟฟ้าในโรงเรียนและการใช้เครื่องวัดประม นายผดุง กิจแสวง นายวุฒิไกร สร้อยสิงห์ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย นายวิชชุกร อุดมรัตน์
25 มีนาคม พ.ศ. 2561
13.00 -16.30 การบำรุงรักษาอุปกรณ์ไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้าในโรงเรียน นายผดุง กิจแสวง นายวุฒิไกร สร้อยสิงห์ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย นายวิชชุกร อุดมรัตน์

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : เปิดโอกาสให้ นักเรียน และครูผู้สอน ได้ใช้เครื่องมือวัดทางไฟฟ้าในการเรียนรู้ ที่มีความถูกต้องและแหม่นยำ
ด้านสังคม : 1.เป็นการเสริมสร้างพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะให้ครู-นักเรียนมีความรู้ด้านด้านไฟฟ้า ความปลอดภัยเทคโนโลยีด้านนี้มากขึ้น 2. สามารถให้ครู-นักเรียนที่สนใจเข้าร่วมโครงการเพื่อลดช่องว่างของความเหลื่อมล้ำทางด้านเทคโนโลยีของโรงเรียนในเขตจังหวัดอุบลราชธานี 3.ครู-อาจารย์ นักเรียนของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความปลอดภัยจากไฟฟ้ามากขึ้น
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
40
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
2500

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา วิชา 1306 202 ปฏิบัติการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า
หลักสูตร หลักสูตร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
นักศึกษาชั้นปี : นักศึกษาชั้นปีที่ 2
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ร้อยละ 80 ของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เพิ่มขึ้นสามารถสอบผ่านวิชา 1306 202 ปฏิบัติการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด ร้อยละ 10 ของนักศึกษาที่เรียน วิชา 1306 202 ปฏิบัติการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า ที่มีส่วนร่วมในการให้บริการวิชาการ
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ จำนวนนักศึกษาร้อยละ 50 เป็นผู้ช่วยวิทยากร

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 30,000.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 28,800.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 28,800.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 4 คน
=
28,800.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 1,200.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 1,200.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
1,200.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 28,960.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 3,360.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 3,360.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 4 วัน x วันละ 420.00 บาท
=
3,360.00 บาท

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 4,800.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 30.00 บาท x จำนวน 40 คน
=
4,800.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 8,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 100.00 บาท x จำนวน 40 คน
=
8,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 10,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 คน x จำนวน 1 เดือน x เดือนละ 10,000.00 บาท
=
10,000.00 บาท

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 2,800.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาผลิตเอกสารประกอบการอบรม 70 บาท 40 ชุด
=
2,800.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 41,040.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 2,000.00 บาท )
1) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
1 x 2,000 บาท
=
2,000 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 500.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาทำผ้าป้ายไวนิล 2*3 ตร.ม./แผ่น 500 บาท
1 x 500 บาท
=
500 บาท

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 1,000.00 บาท )
1) ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ (ตามจริง)
1 x 1,000 บาท
=
1,000 บาท

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 37,540.00 บาท )
1) วัสดุฝึกอบรม 20 ชุด x 1877 บาท
=
37,540.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 100,000.00 บาท