แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2561
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ เกษตรอินทรีย์ วิถีเศรษฐกิจพอเพียง
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายการบริการวิชาการกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในด้านสังคมสูงวัย ด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษา ด้านการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ และการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็ง ความมั่นคงด้านอาชีพ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
ดร.ทวีศักดิ์ วิยะชัย คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : พืชสวน
ประสบการณ์ : การผลิตไม้ดอกไม้ประดับ การขยายพันธุ์พืช การผลิตเห็ด การผลิตต้นอ่อนงอก
ความเชี่ยวชาญ : การปลูกพืชแบบไม่ใช้ดิน
หัวหน้าโครงการ
ผศ.ดร.บุญส่ง เอกพงษ์ คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : พืชสวน
ประสบการณ์ : การผลิตผัก
ความเชี่ยวชาญ : การผลิตผัก
ผู้ร่วมโครงการ
นายรักเกียรติ แสนประเสริฐ คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : พืชศาสตร์(ไม้ผล)
ประสบการณ์ : ระบบน้ำเพื่อการเกษตร
ความเชี่ยวชาญ : ขยายพันธุ์พืช การผลิตไม้ผล
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวสุกัญญา คลังสินศิริกุล คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : กีฏวิทยาและสิ่งแวดล้อม
ประสบการณ์ : การควบคุมศัตรูพืช การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี
ความเชี่ยวชาญ : การควบคุมศัตรูพืช
ผู้ร่วมโครงการ
นางนวลวรรณ แสนประเสริฐ คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : บริหารธุรกิจ
ประสบการณ์ : 15 ปี
ความเชี่ยวชาญ : พัสดุ
เหรัญญิก
นางสาวสมศรี ภูติยา คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา :
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
เลขานุการ

หลักการและเหตุผล
เกษตรอินทรีย์เป็นระบบการผลิตที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม โดยหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นปุ๋ยเคมี สารเคมีกำจัดศัตรูพืชและฮอร์โมนต่างๆ ตลอดจนไม่ใช้พืชหรือสัตว์ที่เกิดจากการตัดต่อทางพันธุกรรมซึ่งอาจนำไปสู่การปนเปื้อนของระบบนิเวศ เน้นการใช้อินทรียวัตถุ เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด และปุ๋ยชีวภาพ ในการปรับปรุงบำรุงดิน เพื่อให้ต้นพืชมีความแข็งแรง สามารถต้านทานโรคและแมลงด้วยตนเอง ผลผลิตที่ได้จากระบบเกษตรอินทรีย์จึงปลอดจากสารพิษตกค้าง ทำให้ปลอดภัยทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค รวมทั้งไม่ทำลายสภาพแวดล้อมด้วย อนึ่งปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานเพื่อเป็นแนวทางแก่ประชาชนให้การดำเนินชีวิตให้มีความพอเพียง พึ่งตนเองได้ ซึ่งจะทำให้การทำการเกษตรอินทรีย์มีความยั่งยืน มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีได้ส่งเสริมและสนับสนุนการเกษตรอินทรีย์มาอย่างต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมการเกษตรอินทรีย์ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลที่ต้องการเพิ่มพื้นที่เกษตรอินทรีย์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ซึ่งมีองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการทำเกษตรอินทรีย์ จึงเสนอโครงการบริการวิชาการ เพื่อส่งเสริมการทำเกษตรอินทรีย์ให้แพร่หลาย และพัฒนาการทำเกษตรอินทรีย์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

วัตถุประสงค์
1.ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีด้านเกษตรอินทรีย์
2.บูรณาการงานวิจัยด้านการเกษตรอินทรีย์เพื่อให้บริการวิชาการแก่เกษตรกร

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
เกษตรกรและประชาชนทั่วไปในพื้นที่บริการของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
40 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. ประชาสัมพันธ์ 2. รับสมัครผู้เข้าอบรม 3. จัดเตรียมเอกสารและวัสดุสำหรับฝึกอบรม 4. จัดฝึกอบรม 5. สรุปผลการดำเนินงาน

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2560
2561
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.ประชาสัมพันธ์ --- --- --- 1,000.00
2.รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ --- --- --- 0.00
3.จัดเตรียมเอกสารและวัสดุสำหรับฝึกอบรม --- --- --- 30,000.00
4.ฝึกอบรม --- -- --- --- 38,000.00
5.สรุปผลการดำเนินงาน --- --- --- 2,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 - 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 รวมเวลา 2 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
3 มีนาคม พ.ศ. 2561
9.00-12.00 การปลูกผักและทำปุ๋ยหมัก ผศ.ดร.บุญส่ง เอกพงษ์และดร.ทวีศักดิ์ วิยะชัย
3 มีนาคม พ.ศ. 2561
13.00-14.30 ระบบการให้น้ำแก่พืช นายรักเกียรติ แสนประเสริฐและดร.ทวีศักดิ์ วิยะชัย
3 มีนาคม พ.ศ. 2561
14.30-16.00 ปฏิบัติการเพาะต้นอ่อนงอก ดร.ทวีศํกดิ์ วิยะชัยและนายรักเกียรติ แสนประเสริฐ
4 มีนาคม พ.ศ. 2561
9.00-12.00 ปฏิบัติการป้องกันกำจัดศัตรูพืช ดร.สุกัญญา คลังสินศิริกุลและดร.ทวีศักดิ์ วิยะชัย
4 มีนาคม พ.ศ. 2561
13.00-15.00 การเพาะเห็ดอย่างง่าย ดร.ทวีศักดิ์ วิยะชัยและนายรักเกียรติ แสนประเสริฐ
4 มีนาคม พ.ศ. 2561
15.00-16.00 การตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ วิทยากรภายนอก

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ของเกษตรกร
ด้านสังคม : สร้างความมั่นคงทางอาหาร
ด้านสิ่งแวดล้อม : ลดการใช้สารเคมี รักษาสิ่งแวดล้อม
ด้านอื่นๆ : สนองนโยบายของรัฐบาล

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
40
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
ลดรายจ่ายด้านอาหารของประชาชนและรักษาสุขภาพ

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา วิชา การผลิตผักพื้นบ้าน
หลักสูตร หลักสูตร เกษตรศาสตร์ 2560
นักศึกษาชั้นปี : 3-4
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน นำเนื้อหาสอดแทรกเข้าในวิชาการผลิตผักพื้นบ้าน
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด ให้นักศึกษาร่วมจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 20,000.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 14,400.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 14,400.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
14,400.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 5,600.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 5,600.00 บาท )
1) จำนวน 5 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
2,000.00 บาท
2) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 6 คน
=
3,600.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 27,960.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 5,960.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 3,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 ครั้ง x จำนวน 1 คน x ครั้งละ 1,500.00 บาท
=
3,000.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 2,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 คืน x จำนวน 1 ห้อง x ห้องละ 1,000.00 บาท
=
2,000.00 บาท
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 960.00 บาท )
1) จำนวน 4 วัน x จำนวน 1 วัน x วันละ 240.00 บาท
=
960.00 บาท

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 6,000.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 30.00 บาท x จำนวน 50 คน
=
6,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 8,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 80.00 บาท x จำนวน 50 คน
=
8,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 8,000.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสาร
=
5,000.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมาจัดโต๊ะปลูก
=
3,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 22,040.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 500.00 บาท )
1) กระดาษ
1 x 500 บาท
=
500 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 1,000.00 บาท )
1) ป้าย
1 x 1,000 บาท
=
1,000 บาท

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 2,000.00 บาท )
1) หมึกพิมพ์
1 x 2,000 บาท
=
2,000 บาท

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 18,540.00 บาท )
1) วัสดุการเกษตร
=
12,000.00 บาท
2) วัสดุก่อสร้าง
=
3,000.00 บาท
3) วัสดุไฟฟ้า
=
540.00 บาท
4) วัสดุวิทยาศาสตร์
=
3,000.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 70,000.00 บาท