แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2561
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ การจัดการชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับเยาวชน
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายการบริการวิชาการกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในด้านสังคมสูงวัย ด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษา ด้านการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ และการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้แก่เด็ก เยาวชนตามแนวพระราชดำริฯ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายไกรศักดิ์ ยงกุลวนิช คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : วิทยาการจัดการอุตสาหกรรม
ประสบการณ์ : วิทยากรการบริหารธุรกิจสมัยใหม่ วิทยากรการจัดส่งธุรกิจ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ
ความเชี่ยวชาญ : การบริหารธุรกิจสมัยใหม่ การจัดส่งธุรกิจ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ
หัวหน้าโครงการ
ผศ.นภาพร หงษ์ภักดี คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : บัญชี
ประสบการณ์ : จัดทำงบการเงิน ตรวจสอบภายใน
ความเชี่ยวชาญ : จัดทำงบการเงิน ตรวจสอบภายใน
ผู้ร่วมโครงการ
ผศ.สืบพงศ์ หงษ์ภักดี คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : การจัดการอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
ประสบการณ์ : มัคคุเทก์ งานโรงแรม งานขาย
ความเชี่ยวชาญ : การบริการ/การท่องเที่ยว/การขาย/กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาววรารัตน์ บุญแฝง คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : Hospitality and Tourism Management
ประสบการณ์ : วิทยากรพฤติกรรมการบริการสู่ความเป็นเลิศ วิทยากรพัฒนาฝีมือแรงงานอุบลฯ
ความเชี่ยวชาญ : เทคนิคการขายและการเป็นเจ้าบ้านที่ดี เทคนิคการบริการเป็นเลิศ
ผู้ร่วมโครงการ
นายชวพจน์ ศุภสาร คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : การตลาด
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 9 มีพระราชดำริให้พสกนิกรชาวไทยยึดถือแนวทางการดำเนินชีวิตตามหลัก “ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ” โดยคำนึงถึงความสมดุลพอดี และความพอประมาณอย่างมีเหตุผลเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนไทยให้อยู่ดีมีสุข จุดเน้นของเศรษฐกิจพอเพียงจะอยู่ที่การมีภูมิคุ้มกัน เนื่องจากการมีภูมิคุ้มกันที่ดีจะช่วยทำให้กิจการสามารถดำรงอยู่ได้ในลักษณะไม่เสี่ยงมากจนเกินไปทำให้ไม่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นที่ไม่อาจคาดเดาล่วงหน้าได้หรือถ้าหากได้รับผลกระทบกะสามารถฟื้นตัวได้ในเวลารวดเร็วพอสมควร โดยที่การจะมีภูมิคุ้มกันที่ได้นั้นจำเป็นต้องมาจากการพึ่งตัวเองให้ได้เป็นส่วนใหญ่ หมายถึงใช้ทรัพยากรที่มีอยู่เองหรือหาได้ง่ายในท้องถิ่นมากที่สุด ใช้เทคโนโลยีเหมาะสมที่สามารถจัดการหรือควบคุมได้ หรือมีทุนที่เป็นทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทุนทางกายภาพที่มนุษย์เป็นผู้สร้างขึ้นไม่ว่าจะเป็นเงินทุนเครื่องมือเครื่องใช้ ตลอดจนเทคโนโลยีในการผลิต ตลอดจนภาวการณ์ตลาดที่สามารถจัดการได้โดยไม่ยากจนเกินไป และถ้าสามารถที่จะพึ่งตนเองได้มากเท่าไหร่ ภูมิคุ้มกันก็จะมีสูงมากขึ้นไม่ว่าการเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นและมีความรุนแรงมากน้อยเพียงใดก็สามารถจัดการได้ เพราะปัญหาส่วนใหญ่ทุกประเภทอยู่ในขอบเขตความสามารถที่จะจัดการได้เอง แต่การจะพึ่งตัวเองนั้นจำเป็นต้องเป็นผู้ที่มี ความพอประมาณ ความหมายของความพอประมาณก็คือทำทุกอย่างเท่าที่จะสามารถจัดการเองได้ไม่เกินกำลังความสามารถหรือโลภมาก ดังนั้นในการที่เด็กและเยาวชนจะ มีความพอประมาณต้องเริ่มที่การจัดการวิธีการดำเนินชีวิตของตนเองไม่ว่าจะเป็น การวางแผนการดำเนินชีวิต(แผนที่ชีวิต) การสร้างดุลยภาพทางความคิดตามวัย การวางแผนใช้จ่ายเงิน การส่งเสริม และสร้างวินัยการออม ทั้งนี้เพื่อเป็นการใช้ชีวิตอย่างระมัดระวังไม่ประมาทและมีการเตรียมพร้อมที่จะเผชิญปัญหาที่จะเข้ามาในการดำเนินชีวิตโดยใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักยึดในกระบวนการต้านทานและแก้ไขปัญหา ในแนวทางดังกล่าวจึงจำเป็นต้องมี การวางแผนการจัดการชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับเยาวชน เพื่อส่งเสริมการจัดการคุณภาพชีวิตตามวัยที่เหมาะสม

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ความรู้กับผู้เข้าร่วมโครงการให้รู้จัก การวางแผนการดำเนินชีวิต (แผนที่ชีวิต) และการจัดการรายได้ของตนเองหรือครอบครัว
2.เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการสร้างดุลยภาพทางความคิดตามวัย(EQ) ที่เหมาะสม
3.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงความสำคัญและประโยชน์ของการออม และสร้างวินัยทางการเงิน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
นักเรียนระดับมัธยมศึกษา
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
100 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
เป็นกิจกรรมเคลื่อนที่ไปตามโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายเพื่อจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ โดยเน้นกิจกรรมการมีส่วนร่วมโดยวิทยากรกลุ่มปฏิบัติการ

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2560
2561
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.ประชุมวิธีการดำเนินงาน - --- --- --- 10,000.00
2.ติดต่อประสานงานและประชาสัมพันธ์และรับสมัครผู้ร่วมโครงการฯ -- - --- --- 10,000.00
3.เตรียมโครงการ --- - --- --- 20,000.00
4.ดำเนินโครงการ --- -- - --- 30,000.00
5.สรุปผลการดำเนินงานและรายงานผล --- --- -- - 10,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2561 - 16 มีนาคม พ.ศ. 2561 รวมเวลา 2 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
15 มีนาคม พ.ศ. 2561
09.00-12.00 อบรมเชิงปฏิบัติการการวางแผนการดำเนินชีวิต (แผนที่ชีวิต) และการจัดการรายได้ของตนเองหรือครอบครัว อ.ไกรศักดิ์และคณะ
15 มีนาคม พ.ศ. 2561
13.00-14.30 อบรมเชิงปฏิบัติการความสำคัญและประโยชน์ของการออม และสร้างวินัยทางการเงิน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ผศ.นภาพรและคณะ
15 มีนาคม พ.ศ. 2561
14.30-16.00 อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างดุลยภาพทางความคิดตามวัย(EQ) ที่เหมาะสม อ.ชวพจน์ และคณะ
16 มีนาคม พ.ศ. 2561
09.00-12.00 อบรมเชิงปฏิบัติการการวางแผนการดำเนินชีวิต (แผนที่ชีวิต) และการจัดการรายได้ของตนเองหรือครอบครัว อ.ไกรศักดิ์ และคณะ
16 มีนาคม พ.ศ. 2561
13.00-14.30 อบรมเชิงปฏิบัติการความสำคัญและประโยชน์ของการออม และสร้างวินัยทางการเงิน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ผศ.นภาพร และคณะ
16 มีนาคม พ.ศ. 2561
14.30-16.00 อบรมเชิงปฏิบัติการการวางแผนการดำเนินชีวิต (แผนที่ชีวิต) และการจัดการรายได้ของตนเองหรือครอบครัว อ.ชวพจน์ และคณะ

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -เยาวชนผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงประโยชน์ของการออม และสร้างวินัยทางการเงิน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
ด้านสังคม : -การสร้างดุลยภาพทางความคิดตามวัย(EQ) ที่เหมาะสมในการเข้าสังคม
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
100
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
50
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-800

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา Modern Business Management
หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต
นักศึกษาชั้นปี : 1-4
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน สอดแทรกการสร้างดุลยภาพทางความคิดตามวัย(EQ) ที่เหมาะสม
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด นักศึกษามีส่วนร่วมในการแสดงออกและการทำงานเป็นทีม
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 27,900.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 27,900.00 บาท )
1) ค่าตอบแทนวิทยากรบรรยาย (อัตรา 600 บาทต่อคนต่อชั่วโมง x วันละ 6 ชั่วโมง*2 วัน)จำนวน 1 คน x จำนวน 2 ชม. x จำนวน 600.00 บาท/ชม.
=
1,200.00 บาท
2) ค่าตอบแทนวิทยากรปฎิบัติการ (อัตรา 600 บาทต่อคนต่อชั่วโมง x วันละ 6 ชั่วโมง*2 วัน*2คน)จำนวน 2 คน x จำนวน 2 ชม. x จำนวน 3,600.00 บาท/ชม.
=
14,400.00 บาท
3) ค่าปฏิบัติการนอกเวลาราชการ จ-ศ (6 คน*200 บาท*5 วัน)จำนวน 6 คน x จำนวน 5 ชม. x จำนวน 200.00 บาท/ชม.
=
6,000.00 บาท
4) ค่าปฏิบัติการนอกเวลาราชการ ส-อ (420 บาท*5คน*3วัน)จำนวน 5 คน x จำนวน 3 ชม. x จำนวน 420.00 บาท/ชม.
=
6,300.00 บาท

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 39,000.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 5,000.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 50 คน
=
5,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 10,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 100.00 บาท x จำนวน 50 คน
=
10,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 24,000.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมารถตู้พร้อมน้ำมัน (2,500 บาท *2 วัน*1 คัน)
=
5,000.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมาทำสื่อการเรียนรู้
=
10,000.00 บาท
3) ค่าจ้างพิมพ์เอกสารประกอบการบรรยาย
=
3,000.00 บาท
4) ค่าจ้างเหมาติดตามผลสัมฤทธิ์และประเมินผลการนำไปใช้
=
3,000.00 บาท
5) ค่าจ้างเหมาประเมินผลและสรุปรูปเล่มโครงการ
=
3,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 13,100.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 7,100.00 บาท )
1) ค่าวัสดุสำนักงาน (ปากกา,แฟ้ม,กระดาษชาร์ทสี,ปากกาไวท์บอร์ด, ถ่านกล้องถ่ายรูป,
1 x 3,800 บาท
=
3,800 บาท
2) ค่าถ่ายเอกสาร (เอกสารประกอบการบรรยาย 50 ชุด*50 บาท)+ ค่าถ่ายเอกสารสรุปรูปเล่มโครงการ (4 เล่ม *200 บาท)
1 x 3,300 บาท
=
3,300 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 2,500.00 บาท )
1) ป้ายผ้า ไวนิล (2 ผืน ผืนละ 500 บาท +2 ผืน ผืนละ 750 บาท)
1 x 2,500 บาท
=
2,500 บาท

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 2,000.00 บาท )
1) วัสดุคอมพิวเตอร์ (แผ่นซีดี,หมึกปริ๊นเตอร์,กระดาษโฟโต้ปริ๊น)
1 x 2,000 บาท
=
2,000 บาท

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 1,500.00 บาท )
1) ของรางวัลประกอบการเล่นเกมส์และตอบคำถามในแต่ละกิจกรรม
=
1,500.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 80,000.00 บาท