แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2561
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ การพัฒนาศักยภาพและเพิ่มมูลค่าทางธุรกิจสำหรับผู้ประกอบการSMEและเกษตรกร เพื่อการทำธุรกิจเข้าสู่ประเทศไทย 4.0
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายการบริการวิชาการกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในด้านสังคมสูงวัย ด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษา ด้านการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ และการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็ง ความมั่นคงด้านอาชีพ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นางสาวใจแก้ว แถมเงิน คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : การตลาด
ประสบการณ์ : หัวหน้า กรรมการ และวิทยากรโครงการบริการวิชาการด้านการตลาดตั้งแต่ปี 2546 จนถึงปัจจุบัน
ความเชี่ยวชาญ : การตลาด การจัดการ
หัวหน้าโครงการ
นางพรพิพัฒน์ แก้วกล้า คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา :
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
ผู้ร่วมโครงการ
นายอติชน ทองปน คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : การจัดการการเงินมหาบัณฑิต ประสบการณ์
ประสบการณ์ : การสอนในรายวิชา ทักษะการใช้เงินในชีวิตประจำวัน
ความเชี่ยวชาญ : วิทยากรโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการ UBON UBI วิทยากร ตลาดหลักทรัพย์ โครงการเงินทองของมีค่า ในเขตภาคอีสาน
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวศุภกัญญา จันทรุกขา คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : การจัดการธุรกิจ
ประสบการณ์ : ประธานหลักสูตรการจัดการธุรกิจ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริหาร ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา
ความเชี่ยวชาญ : หลักการจัดการ การจัดการทรัพยากรมนุษย์
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวพิมลพรรณ อุดมพันธ์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : เทคโนโลยีสารสนเทศ
ประสบการณ์ : สอน 10 ปี
ความเชี่ยวชาญ : e-commerce
เลขานุการ

หลักการและเหตุผล
สภาพเศรษฐกิจและสังคมที่มีการแข่งขันรุนแรง ตลอดจนเข้าสู่ “ประเทศไทย 4.0” ที่ปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจ ไปสู่ “Value–Based Economy” หรือ “เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม” กล่าวคือ การขับเคลื่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างน้อยใน 3 มิติสำคัญ คือ 1. เปลี่ยนจากการผลิตสินค้า “โภคภัณฑ์” ไปสู่สินค้าเชิง “นวัตกรรม” 2. เปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศด้วยภาคอุตสาหกรรม ไปสู่การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม 3.เปลี่ยนจากการเน้นภาคการผลิตสินค้า ไปสู่การเน้นภาคบริการมากขึ้น “ประเทศไทย 4.0” จึงเป็นการเปลี่ยนผ่านทั้งระบบใน 4 องค์ประกอบสำคัญ คือ 1. เปลี่ยนจากการเกษตรแบบดั้งเดิม (Traditional Farming) ในปัจจุบัน ไปสู่การเกษตรสมัยใหม่ ที่เน้นการบริหารจัดการและเทคโนโลยี (Smart Farming) โดยเกษตรกรต้องร่ำรวยขึ้น และเป็นเกษตรกรแบบเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneur) 2. เปลี่ยนจาก Traditional SMEs หรือ SMEs ที่มีอยู่ที่รัฐต้องให้ความช่วยเหลืออยู่ตลอดเวลา ไปสู่การเป็น Smart Enterprises และ Startups ที่มีศักยภาพสูง 3.เปลี่ยนจาก Traditional Services ซึ่งมีการสร้างมูลค่าค่อนข้างต่ำ ไปสู่ High Value Services 4. เปลี่ยนจากแรงงานทักษะต่ำไปสู่แรงงานที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และทักษะสูง ดังนั้น ผู้ประกอบการSMEและเกษตรกร จำเป็นที่จะต้องพัฒนาศักยภาพและเพิ่มมูลค่าทางธุรกิจพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ต้องมีการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจอย่างรอบด้าน เพื่อให้ทันต่อการแข่งขัน เสริมสร้างความรู้ทางด้านการบริหารธุรกิจและสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะประเทศไทย 4.0 จะเป็นกุญแจสำคัญ ที่ทำให้ระบบเศรษฐกิจไทยก้าวทันเทคโนโลยีสมัยใหม่ของโลก โดยทำให้เกิดความเข้มแข็งขึ้นจากภายใน เพื่อเชื่อมโยงออกไปสู่โลก และที่สำคัญยังเน้นการใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงมาประยุกต์ใช้ให้เติบโตอย่างยั่งยืน (www.thairat.co.th)

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ผู้ประกอบการSMEและเกษตรกร มีความรู้ในการประกอบธุรกิจ ได้แก่ การตลาด การจัดการธุรกิจการบัญชี การเงิน และระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เพื่อการทำธุรกิจเข้าสู่ประเทศไทย 4.0
2.เพื่อให้ผู้ประกอบการSMEและเกษตรกร สามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการจัดการอบรมไปพัฒนารูปแบบการประกอบธุรกิจของตนเองให้เหมาะสมกับสภาพทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนไป

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
ผู้ประกอบการSMEและเกษตรกร ในจังหวัดอุบลราชธานีและใกล้เคียง
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
150 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
กิจกรรมและวิธีดำเนินการ ชุดโครงการนี้ประกอบด้วยโครงการย่อยทั้งหมด 5 โครงการย่อย ได้แก่ 1. โครงการย่อยที่ 1 เรื่อง การพัฒนากลยุทธ์การตลาดและเพิ่มมูลค่าทางธุรกิจ ด้วยแนวคิดการตลาด 4.0 2. โครงการย่อยที่ 2 เรื่อง การจัดการเชิงกลยุทธ์และภาวะผู้นำ เพื่อการทำธุรกิจเข้าสู่ประเทศไทย 4.0 3. โครงการย่อยที่ 3 เรื่อง การวางแผนทางการเงินและเรียนรู้นวตกรรมทางการเงินรูปแบบใหม่ สำหรับผู้ประกอบการSMEและเกษตรกร 4. โครงการย่อยที่ 4 เรื่อง การจัดทำบัญชีและบริหารต้นทุนสินค้าเพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขัน 5. โครงการย่อยที่ 5 เรื่อง การอบรมคอมพิวเตอร์เชิงปฏิบัติการในหัวข้อ เทคนิคการเพิ่มมูลค่าสินค้าของธุรกิจ SMEs ด้วยกลยุทธ์การตลาด Digital

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2560
2561
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.เตรียมแผนงานอบรม --- --- --- 10,000.00
2.ประชาสัมพันธ์ --- - --- --- 25,000.00
3.รับสมัครผู้ร่วมโครงการ --- -- -- --- 20,000.00
4.ดำเนินโครงการ --- --- - --- 150,000.00
5.สรุปโครงการ --- --- --- 15,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2560 - 30 กันยายน พ.ศ. 2561 รวมเวลา 365 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
5 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
08.30-16.00 น. การค้นหาความต้องการของลูกค้าและกลยุทธ์การตลาดด้วยแนวคิดการตลาด 4.0 อ.ใจแก้ว แถมเงิน และคณะ
6 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
08.30-16.00น. การสร้างแบรนด์และการสื่อสารการตลาดเพื่อเพิ่มมูลค่าทางธุรกิจด้วยแนวคิดการตลาด 4.0 อ.ใจแก้ว แถมเงิน และคณะ
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
08.30-16.00น. การจัดการเชิงกลยุทธ์และภาวะผู้นำ เพื่อการทำธุรกิจเข้าสู่ประเทศไทย 4.0 อ.ศุภกัญญา จันทรุกขาและคณะ
13 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
08.30-16.00น. การวางแผนทางการเงินและเรียนรู้นวตกรรมทางการเงินรูปแบบใหม่ อ.อติชน ทองปน และคณะ
19 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
08.30-16.00น. การจัดทำบัญชีอย่างง่ายเพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขัน ดร.พรพิพัฒน์ แก้วกล้า และคณะ
20 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
08.30-16.00น. การบริหารต้นทุนสินค้าเพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขัน ดร.พรพิพัฒน์ แก้วกล้า และคณะ
26 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
08.30-12.00น. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการ AEC, E-ASEAN และE-commerce for SMEs อ.พิมลพรรณ อุดมพันธ์ และคณะ
26 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
13.00 – 16.00 น. การอบรมคอมพิวเตอร์เชิงปฏิบัติการ : Social media ด้วยเว็บไซต์ Fanpage Facebook, Instagram, Line Shop อ.พิมลพรรณ อุดมพันธ์ และคณะ
27 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
08.30-12.00น. การอบรมคอมพิวเตอร์เชิงปฏิบัติการ: E-Marketplace ด้วยเว็บไซต์ lnwshop.com, Alibaba.com and ebay.com, อ.พิมลพรรณ อุดมพันธ์ และคณะ
27 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
13.00 – 16.00 น. การอบรมคอมพิวเตอร์เชิงปฏิบัติการ : เทคนิคการจัดทำสื่อวีดีโอ Youtube.com และ เทคนิคการถ่ายภาพ ตอบข้อซ อ.พิมลพรรณ อุดมพันธ์ และคณะ

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : 1. ตัวแทนผู้ประกอบการ SME และเกษตรกร (มีเวลาในการฝึกอบรมไม่น้อยกว่า 80%) 2. ผู้ประกอบการSME และเกษตรกร มีความรู้เพิ่มเติมในการประกอบธุรกิจ ได้แก่ การตลาด การจัดการธุรกิจการบัญชี การเงิน และระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เพื่อการทำธุรกิจเข้าสู่ประเทศไทย 4.0 3. ผู้ประกอบการSMEและเกษตรกร สามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการจัดการอบรมไปพัฒนารูปแบบการประกอบธุรกิจของตนเองให้เหมาะสมกับสภาพทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนไป
ด้านสังคม : สร้างเครือข่ายผู้ประกอบการSMEและเกษตรกร
ด้านสิ่งแวดล้อม :
ด้านอื่นๆ :

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
150
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
ต้นทุนต่อหัว 1,166.66 บาท

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา 1702 210 หลักการตลาด
หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการตลาด
นักศึกษาชั้นปี : 1
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ร้อยละ 80 ของนักศึกษาที่ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น / เข้าใจและนำไปใช้ในรายวิชา 1702 210 หลักการตลาด
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ
ดาวโหลดไฟล์ มคอ./แผนการสอน :ดาวโหลด

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 58,180.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 28,800.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 28,800.00 บาท )
1) จำนวน 8 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
28,800.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 29,380.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 13,000.00 บาท )
1) จำนวน 13 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 5 คน
=
13,000.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 16,380.00 บาท )
1) จำนวน 13 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
16,380.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 78,900.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 14,400.00 บาท )
1) จำนวน 16 มื้อ x มื้อละ 30.00 บาท x จำนวน 30 คน
=
14,400.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 24,000.00 บาท )
1) จำนวน 8 มื้อ x มื้อละ 100.00 บาท x จำนวน 30 คน
=
24,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 7,500.00 บาท )
- จำนวน 1 คัน x จำนวน 3 วัน x ราคา 2,500 บาท/คัน/วัน
=
7,500.00 บาท

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 33,000.00 บาท )
1) จำนวน 3 คน x จำนวน 10 เดือน x เดือนละ 1,100.00 บาท
=
33,000.00 บาท

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 37,920.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 23,420.00 บาท )
1) กระดาษA4
5 x 580 บาท
=
2,900 บาท
2) ปากกา
160 x 10 บาท
=
1,600 บาท
3) ซองพลาสติกขยายข้าง
165 x 20 บาท
=
3,300 บาท
4) ซองจดหมาย
10 x 45 บาท
=
450 บาท
5) กระดาษฟลิปชาร์จ
5 x 250 บาท
=
1,250 บาท
6) คลิปดำ
10 x 50 บาท
=
500 บาท
7) ค่าถ่ายเอกสาร
13,420 x 1 บาท
=
13,420 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 6,000.00 บาท )
1) ป้ายโฆษณา
3 x 2,000 บาท
=
6,000 บาท

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 8,500.00 บาท )
1) แผ่นDVD
10 x 400 บาท
=
4,000 บาท
2) ้Handy Drive
5 x 300 บาท
=
1,500 บาท
3) เมาส์
5 x 600 บาท
=
3,000 บาท

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 175,000.00 บาท