แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2561
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ “การเพิ่มมูลค่าคุณค่าสินค้าสหกรณ์และเกษตรกรรมไทย ก้าวไกลสู่ เกษตรดิจิทัล ในยุค 4.0“
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายการบริการวิชาการกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในด้านสังคมสูงวัย ด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษา ด้านการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ และการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็ง ความมั่นคงด้านอาชีพ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นางสาวพิมลพรรณ อุดมพันธ์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : IT
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
หัวหน้าโครงการ

หลักการและเหตุผล
จากนโยบายแนวคิด ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร่วมมือกับกระทรวงเทคโนโยลีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ด้านเกษตรดิจิทัล และไทยแลนด์ 4.0 นั่นคือการนำสินค้าเกษตรผนวกเข้ากับเทคโนโลยีดิจิตอลและเทคโนโลยีการเกษตร รวมทั้งส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและใช้ประโยชน์จากข้อมูลสารสนเทศในการจำหน่ายสินค้าเกษตรให้ครอบคลุมพื้นที่ มุ่งให้ผู้ประกอบการสามารถจำหน่ายผ่านทางออนไลน์ หรือระบบอี-คอมเมิร์ซ (e-Commerce) ทำให้เกษตรกรมีโอกาสและมีส่วนร่วมในการเรียนรู้การจัดการการค้าในลักษณะออนไลน์ พร้อมขยายกลุ่มผู้ค้าและผู้บริโภคได้กว้างขึ้น โดยเริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี 2559 โครงการนี้ถือเป็นมิติที่ดีของภาคเกษตรกรรมของประเทศไทยในการช่วยสร้างแรงบันดาลใจให้แก่กลุ่มเกษตรกรและผู้ประกอบการ SMEs ตลอดจนกลุ่มผู้ประกอบการธุรกิจเกิดใหม่ให้เกิดการพัฒนาศักยภาพและเตรียมความพร้อมทางธุรกิจเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมดิจิตอล โดยจะมีให้ความรู้ อาทิเช่น เช่น การสร้างร้านค้าออนไลน์ การขนส่งสินค้าผ่านระบบไปรษณีย์ การตรวจสอบย้อนกลับผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตร และการสร้างชุมชนให้เรียนรู้ศาสตร์ด้านการตลาด การบริหารจัดการ การเงิน และการบัญชี ซึ่งถือได้ว่าครบวงจรการทำธุรกิจสินค้าเกษตรกรรมในยุค 4.0 พื้นที่ชุมชนในจังหวัดอุบลราชธานี ภายใต้แผนการพัฒนาของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ร่วมกับคณะบริหารศาสตร์ ซึ่งได้ดำเนินการบันทึกข้อตกลง (MOU) หรือ ร่วมทำโครงการวิจัย โครงการบริการวิชาการ มาอย่างต่อเนื่อง อาทิเช่น เทศบาลเมืองเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี บ้านบัวเทิง อ.สว่างวีรวงศ์ บ้านใหม่สารภี อ.สว่างวีรวงศ์ และบ้านผาชัน อ.ศรีเมืองใหม่ ตลอดจนพื้นที่ชุมชน ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มสหกรณ์ กลุ่มสินค้าเกษตรกรรม หรือสินค้าชุมชน มาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ ปี 2556 โดยที่มีข้อตกลงเป็นเครือข่ายทางวิชาการ และวิจัย ร่วมกัน ซึ่งผลงานที่ผ่านมาเช่น การพัฒนา Fanpage, Website และการให้ความรู้ตลาดออนไลน์ เช่น กลุ่มหัตถกรรมทอเสื่อกกบ้านโนนโพธิ์ใต้ หรือเว็บไซต์ร้านค้าออนไลน์ของบ้านใหม่สารภี เป็นต้น ดังนั้นเพื่อช่วยให้กลุ่มสหกรณ์และสินค้าเกษตรกรรม สามารถสร้างมูลค่าคุณค่าเพิ่มให้กับกลุ่มและสินค้าตนเอง ภายใต้แนวคิด เกษตรดิจิทัล ของการขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 ตลอดจนการพัฒนารายได้อย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน สู่ความเป็นมาตรฐานสากล รองรับการทำธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน ดังนั้น ถึงเวลาแล้วที่กลุ่มสหกรณ์และสินค้าเกษตรกรรม ไทยต้องตื่นตัว ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจอย่างรอบด้าน อย่างแท้จริงในการนี้ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาของชุมชน มีความต้องการช่วยสร้างมูลค่าคุณค่าเพิ่มให้กับกลุ่มและสินค้าตนเอง ภายใต้แนวคิด เกษตรดิจิทัล ของการขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 จึงจำเป็นต้องการพัฒนาและส่งเสริมตลาด กลุ่มสหกรณ์และสินค้าเกษตรกรรม จังหวัดอุบลราชธานีตลอด โดยให้ความรู้ ด้านไอที การตลาด การบริการ การบัญชี และการเงิน มาช่วยในการพัฒนาศักยภาพให้กับ สามารถสร้างมูลค่าคุณค่าเพิ่มให้กับกลุ่มและสินค้าตนเอง ภายใต้แนวคิด เกษตรดิจิทัล ของการขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 รองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยนำเสนอในรูปแบบโครงการบริการวิชาการประจำปี 2561

วัตถุประสงค์
1.1.1. เพื่อให้สินค้า กลุ่มสหกรณ์และสินค้าเกษตรกรรม จังหวัดอุบลราชธานีและใกล้เคียงตื่นตัว และมีความรู้เพิ่มเติมในการประกอบธุรกิจ ด้านไอที การตลาด การบริการ การบัญชี และการเงิน อันนำไปสู่การเพิ่มความสามารถ สร้างมูลค่าคุณค่าเพิ่มให้กับกลุ่มและสินค้าตนเอง ภายใต้แนวคิด เกษตรดิจิทัล ของการขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 รองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2. เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการจัดการอบรมไปพัฒนารูปแบบการประกอบธุรกิจของตนเองให้เหมาะสมกับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจที่กำลังจะเปลี่ยนไป

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ กลุ่มสหกรณ์และสินค้าเกษตรกรรม จังหวัดอุบลราชธานีและใกล้เคียง
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
150 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. โครงการย่อยที่ 1 เรื่อง การอบรมคอมพิวเตอร์เชิงปฏิบัติการในหัวข้อ เทคนิคการเพิ่มมูลค่าสินค้าสหกรณ์และเกษตรกรรม ด้วยกลยุทธ์การตลาด Digital” จำนวน 2 วัน 2. โครงการย่อยที่ 2 เรื่อง “กลยุทธ์การตลาดและการเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน” จำนวน 2 วัน 3. โครงการย่อยที่ 3 เรื่อง การจัดการสินค้าเกษตรเชิงกลยุทธ์เพื่อยกระดับความสามารถในการแข่งขันสำหรับสินค้าเกษตร จำนวน 2 วัน 4. โครงการย่อยที่ 4 เรื่อง บัญชีฟาร์มและภาษีอากรที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจเกษตรเพื่อใช้ในการวางแผนการตัดสินใจสำหรับเกษตรกรในยุค 4.0 จำนวน 1 วัน 5. โครงการย่อยที่ 5 เรื่อง การนำวางแผนการเงินอย่างง่ายและอัตราส่วนทางการเงินมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ สำหรับสินค้าสหกรณ์และเกษตรกรรม จำนวน 1 วัน

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2560
2561
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.1. เตรียมแผนงานอบรม --- -- --- --- 10,000.00
2.2.ประชาสัมพันธ์ --- -- -- --- 5,000.00
3.3. รับสมัคร และคัดเลือกผู้ร่วมโครงการ --- -- - --- 5,000.00
4.4. ดำเนินโครงการตามแผนย่อยทั้ง 5 โครงการ --- --- - --- 160,000.00
5.5. สรุปและประเมินผลโครงการ --- --- -- --- 15,700.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2559 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2559 รวมเวลา 122 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
08.30-12.00 - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการ AEC, E-ASEAN และE-commerce for สินค้าสหกรณ์และเกษตรกรรม - การอบรมคอ อ.พิมลพรรณ อุดมพันธ์ และคณะ
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
13.00-16.30 - การอบรมคอมพิวเตอร์เชิงปฏิบัติการ: E-Marketplace ด้วยเว็บไซต์ lnwshop.com, Alibaba.com and ebay.com พิมลพรรณ อุดมพันธ์
13 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
08.30-12.00 - การอบรมคอมพิวเตอร์เชิงปฏิบัติการ: E-Marketplace ด้วยเว็บไซต์ lnwshop.com, Alibaba.com and ebay.com พิมลพรรณ อุดมพันธ์
13 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
13.00-16.30 - การอบรมคอมพิวเตอร์เชิงปฏิบัติการ : เทคนิคการจัดทำสื่อวีดีโอ Youtube.com และ เทคนิคการถ่ายภาพ พิมลพรรณ อุดมพันธ์
19 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
13.00-16.30 - กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์และราคา และและการเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร อ.ใจแก้ว แถมเงินและคณะ
20 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
08.30-12.00 - กลยุทธ์ด้านการจัดจำหน่ายและการส่งเสริมการตลาด อ.ใจแก้ว แถมเงินและคณะ
20 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
13.00-16.30 - แนวทางการปรับกลยุทธ์การตลาดและการเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร เพื่อการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน” อ.ใจแก้ว แถมเงินและคณะ
26 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
13.00-16.30 บัญชีฟาร์มและภาษีอากรที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจเกษตรเพื่อใช้ในการวางแผนการตัดสินใจสำหรับเกษตรกรในยุค 4.0 อ.วรรณนภา สุทธิประภา
26 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
08.30-12.00 บัญชีฟาร์มและภาษีอากรที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจเกษตรเพื่อใช้ในการวางแผนการตัดสินใจสำหรับเกษตรกรในยุค 4.0 อ.วรรณนภา สุทธิประภา
27 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
08.30-12.00 การนำวางแผนการเงินอย่างง่ายและอัตราส่วนทางการเงินมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ สำหรับสินค้าสหกรณ์และเกษ อ.อติชน ทองปน
27 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
13.00-16.30 การนำวางแผนการเงินอย่างง่ายและอัตราส่วนทางการเงินมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ สำหรับสินค้าสหกรณ์และเกษ
2 มิถุนายน พ.ศ. 2559
08.30-12.00 อบรมเชิงปฏิบัติการ แผนกลยุทธ์สำหรับการจัดการสินค้าเกษตร 1 ดร.นรา หัตถสิน และคณะ
2 มิถุนายน พ.ศ. 2559
13.00-16.30 อบรมเชิงปฏิบัติการ แผนกลยุทธ์สำหรับการจัดการสินค้าเกษตร 1 ดร.นรา หัตถสิน และคณะ
20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
08.30-12.00 -กลยุทธ์การตลาดและการเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน อ.ใจแก้ว แถมเงินและคณะ

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : 1. ตัวแทนผู้ประกอบการ (มีเวลาในการฝึกอบรมไม่น้อยกว่า 80%)
ด้านสังคม : 2. กลุ่มสหกรณ์และสินค้าเกษตรกรรม ไทยตื่นตัว และมีความรู้เพิ่มเติมในการประกอบธุรกิจ อันนำไปสู่การเพิ่ม
ด้านสิ่งแวดล้อม : 3. กลุ่มสหกรณ์และสินค้าเกษตรกรรม สามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการจัดการอบรมไปพัฒนารูปแบบการประกอบธุรกิจของตนเองให้เหมาะสมกับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจที่กำลังจะเปลี่ยนไป
ด้านอื่นๆ : 4. เกิดยอดขาย หรือการลงทุน

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
150
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
1,309บาทต่อหัว

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา 17061316
หลักสูตร ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
นักศึกษาชั้นปี : 3
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดย มอบหมายให้นศ. ดำเนินการทดลองนำสินค้าสหกรณ์และเกษตรกรรม ไปจำหน่ายใน e-marketplace
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด นำนศ.เข้าร่วมชมกระบวนการผลิตสินค้า และการนำเสนอขายสินค้า พร้อมกลยุทธ์ของสินค้ากลุ่มสหกรณ์และสินค้าเกษตรกรรม
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ นักศึกษาสามารถประยุกต์ความรู้กับงานกลุ่ม เพื่อสร้างร้านค้าออนไลน์ให้กับสินค้าชุมชนได้อย่างน้อย 80%

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 57,840.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 28,800.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 28,800.00 บาท )
1) จำนวน 8 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
28,800.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 29,040.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 7,200.00 บาท )
1) จำนวน 12 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
7,200.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 21,840.00 บาท )
1) จำนวน 13 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 4 คน
=
21,840.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 86,800.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 12,000.00 บาท )
1) จำนวน 16 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 30 คน
=
12,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 24,000.00 บาท )
1) จำนวน 8 มื้อ x มื้อละ 100.00 บาท x จำนวน 30 คน
=
24,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 16,000.00 บาท )
- จำนวน 1 คัน x จำนวน 8 วัน x ราคา 2,000 บาท/คัน/วัน
=
16,000.00 บาท

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 34,800.00 บาท )
1) จำนวน 4 คน x จำนวน 3 เดือน x เดือนละ 2,900.00 บาท
=
34,800.00 บาท

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 51,660.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 13,900.00 บาท )
1) กระดาษ
16 x 150 บาท
=
2,400 บาท
2) กระดาษสี
5 x 300 บาท
=
1,500 บาท
3) ปากกา
5 x 500 บาท
=
2,500 บาท
4) แฟ้มเอกสาร
30 x 200 บาท
=
6,000 บาท
5) กระดาษคลิปชาร์ด
5 x 300 บาท
=
1,500 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 5,000.00 บาท )
1) ค่าสื่อประชาสัมพันธ์
10 x 500 บาท
=
5,000 บาท

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 10,500.00 บาท )
1) external hard disk
1 x 4,000 บาท
=
4,000 บาท
2) หมึกพิมพ์
2 x 2,000 บาท
=
4,000 บาท
3) memory digital camera
1 x 1,000 บาท
=
1,000 บาท
4) ซีดี
2 x 250 บาท
=
500 บาท
5) handy drive
2 x 500 บาท
=
1,000 บาท

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 22,260.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสารและเข้าเล่ม
=
22,260.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 196,300.00 บาท