แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2561
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติพัฒนาศักย์ภาพนักประดิษฐ์หุ่นยนต์ตัวน้อยด้วยระบบสมองกลฝังตัว
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายการบริการวิชาการกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในด้านสังคมสูงวัย ด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษา ด้านการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ และการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แก่ชุมชน / สังคม / กลุ่มวิชาชีพ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายสมนึก เวียนวัฒนชัย คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : อิเล็กทรอนิกส์โทรคมนาคม
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
หัวหน้าโครงการ
นายผดุง กิจแสวง คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
ประสบการณ์ : วิจัยและสอนวิชาปิบัติการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 16 ปี
ความเชี่ยวชาญ : -Microcontroller application -Embebded system -PLC application -Electrical Machine Drive and Control
ผู้ร่วมโครงการ
นายวิชชุกร อุดมรัตน์ คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : สาขาไฟฟ้า
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
ผู้ร่วมโครงการ
นายภูมิพัฒน์ โทจันทร์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : วิศวกรรมไฟฟ้า
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
เป็นโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเขียนโปรแกรมควบคุมระบบสมองกลโดยมีไมโครคอนโทรลเลอร์เป็นอุปกรณ์หลัก ต่อร่วมกับอุปกรณ์อินพุตที่ทำหน้าที่เป็นเซ็นเซอร์วัดปริมาณต่าง ๆ เพื่อเป็นข้อมูลในการตัดสินใจในการความคุมอุปกรณ์เอาต์พุตต่าง ๆ ในการกำหนดการเคลื่อนที่หรือปฏิบัติงานอื่นที่ต้องการ โดยกิจกรรมในการอบรมจะเน้นให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้ฝึกมองโจทย์ปัญหาโดยการสร้างสถานะการณ์จำลองแล้วให้ผู้วางแผนในการแก้โจทย์และทดลองและสรุปผลจากโจทย์ปัญหาที่กำหนดให้ โดยในการอบรมได้นำเอาหุ่นยนต์มาเป็นสื่อการเรียนรู้การเขียนโปรแกรมและศึกษาการทำงานของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อกระตุ้นความสนใจของผู้เข้าร่วมอบรมและให้สามารถนำไปต่อยอดในระบบสมองกลฝังตัวเพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่ได้

วัตถุประสงค์
1.เพื่อเป็นการขยายโอกาสให้กับครู-นักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็กภายในจังหวัดอุบลราชธานีที่มีความสนใจ ได้เข้ามาศึกษาและเรียนรู้เทคโนโลยีด้านหุ่นยนต์ระบบควบคุมอัตโนมัติ
2.เพื่อกระตุ้นให้ครู นักเรียน นักศึกษาเกิดความสนใจและจุดประกายแนวความคิดสร้างสรรค์ในเทคโนโลยีด้านหุ่นยนต์ เพื่อสามารถนำไปต่อยอดในการสร้างหุ่นยนต์เพื่อเข้าร่วมแข่งขันในการแข่งขันระดับต่าง ๆ ต่อไปได้

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาในเขตพื้นที่รับผิดชอบมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
30 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ 1.เสนอโครงการ 2.อนุมัติโครงการ 3.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานฯ 4.ประชาสัมพันธ์โครงการฯ 5.รับสมัครผู้เข้าร่วมการอบรมโครงการฯ 6.ติดต่อผู้เข้าร่วมฝึกอบรมและวิทยากร 7.ซื้ออุปกรณ์การทดลองและจ้างเหมาสร้างชุดฝึกทดลอง 8.จัดฝึกอบรมตามโครงการฯ 9.ประเมินผลโครงการฯ 10.สรุปและจัดทำรายงานของโครงการฯ

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2560
2561
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.เสนอโครงการ/อนุมัติโครงการ --- --- - --- 95,050.00
2.ประชาสัมพันธ์โครงการฯ/รับสมัครผู้เข้าร่วมการอบรมโครงการฯ --- --- -- --- 0.00
3.จัดฝึกอบรมตามโครงการฯ --- --- -- --- 0.00
4.ประเมินผลโครงการฯ --- --- - --- 0.00
5.สรุปและจัดทำรายงานของโครงการฯ --- --- - --- 0.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 - 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 รวมเวลา 2 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
09.00 – 10.30 น. เทคโนโลยีการควบคุมหุ่นยนต์อัตโนมัติและการออกแบบ สถาปัตยกรรมไมโครคอนโทรลเลอร์ และการพัฒนา การใช้โปรแ นายผดุง กิจแสวง
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
10.30 – 10.45 น. รับประทานอาหารว่าง
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
10.45 – 12.00 น. การเชื่อมต่อและการเขียนโปรแกรมควบคุมไมโครคอนโทรลเลอร์ติดต่อควบคุมทางสวิตช์และแอลอีดี นายผดุง กิจแสวง
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารเที่ยง
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
12.00 – 14.30 น. การเชื่อมต่อและการเขียนโปรแกรมควบคุมไมโครคอนโทรลเลอร์ติดต่ออินพุตทางสวิตช์ นายผดุง กิจแสวง
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
14.45 – 16.00 น. การเชื่อมต่อและการเขียนโปรแกรมควบคุมไมโครคอนโทรลเลอร์ติดต่ออินพุตเซนเซอร์ นายผดุง กิจแสวง
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
14.30 – 14.45 น. รับประทานอาหารว่าง
13 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
14.30 – 14.50 น. รับประทานอาหารว่าง
13 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
13.00 – 14.30 น. การเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมหุ่นยนต์ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
13 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลาววัน
13 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
10.30 – 10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง
13 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
08.30 – 10.30 น. การเชื่อมต่อและการเขียนโปรแกรมควบคุมไมโครคอนโทรลเลอร์ติดต่ออินพุตเซนเซอร์ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
13 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
14.30 – 16.00 น. การเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมหุ่นยนต์และเทคนิคการตรวจสอบระบบควบคุมการทำงานของหุ่นยนต์ นายสมนึก เวียนวัฒนชัย

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : เกิดความร่วมมือทางวิชาการและการจัดกิจกรรมร่วมกัน ระหว่างคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี -ผู้เข้าร่วมโครงการมีทัศนคติที่ดีต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
30
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
3,168

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา 1306341 ปฏิบัติการการออกแบบลอจิกเชิงเลข (Digital Logic Design Lab)
หลักสูตร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
นักศึกษาชั้นปี : 2
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ร้อยละ 80 ของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เพิ่มขึ้นสามารถสอบผ่านวิชา 1306341 ปฏิบัติการการออกแบบลอจิกเชิงเลข
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด ร้อยละ 10 ของนักศึกษาที่เรียน วิชา 1306341 ปฏิบัติการการออกแบบลอจิกเชิงเลข ที่มีส่วนร่วมในการให้บริการวิชาการ
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 29,250.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 21,600.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 21,600.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
21,600.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 7,650.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 2,250.00 บาท )
1) จำนวน 5 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
2,250.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 5,400.00 บาท )
1) จำนวน 5 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
5,400.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 22,800.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 3,600.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 30.00 บาท x จำนวน 30 คน
=
3,600.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 4,800.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 80.00 บาท x จำนวน 30 คน
=
4,800.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 14,400.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาทำคู่มือประกอบการอบรม 40*120
=
4,800.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมารถตู้พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง 2 วัน * 2800 บาท
=
5,600.00 บาท
3) ค่าเดินทางราชการ
=
3,000.00 บาท
4) ค่าจ้างเหมาทำสื่อไวนิลประชาสัมพันธ์
=
1,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 43,000.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 5,000.00 บาท )
1) วัสดุสำนักงาน
1 x 5,000 บาท
=
5,000 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 38,000.00 บาท )
1) วัสดุฝึก
=
38,000.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 95,050.00 บาท