แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2561
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน วิทยาเขตมุกดาหาร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพช่องทางการจัดจำหน่ายแก่ผลิตภัณฑ์ชุมชนและผู้ประกอบการสินค้าโอท๊อป
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายการบริการวิชาการกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในด้านสังคมสูงวัย ด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษา ด้านการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ และการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็ง ความมั่นคงด้านอาชีพ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นางสาวปวีณา ทองบุญยัง คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : บริหารธุรกิจ
ประสบการณ์ : วิทยากรการอบรมการเขียนแผนธุรกิจ และด้านงานวิจัย
ความเชี่ยวชาญ : ด้านบริหารธุรกิจ
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุภัตราภรณ์ สายสมบูรณ์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : การจัดการอุตสาหกรรม
ประสบการณ์ : นักวิจัยการตลาด นักบริหารคุณภาพ
ความเชี่ยวชาญ : วิจัยการตลาด บริหารคุณภาพ
ผู้ร่วมโครงการ
นายเกียรติกุล กุลตังวัฒนา คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : บริหารธุรกิจ
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวอัจฉรา อรรคนิตย์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : Master of Commerce (Information System & Technology
ประสบการณ์ : "1.Tutor สอนวิชา Business English Technical Vocation Institue Alburquerque New Mexico USA 2. Web Expenses Oracle Coorperation Sydney Australia 3. Assistant Manager Sydney Australia"
ความเชี่ยวชาญ : ภาษาอังกฤษ
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวมนัสดา ชัยสวนียากรณ์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : สาขาการบัญชีบริหาร(Managerial Accounting)
ประสบการณ์ : การบัญชีภาษีอากร/การบัญชีภาคธุรกิจผลิต/การบัญชีธุรกิจบริการ/การบัญชีกิจการซื้อมาขายไป/การวางระบบบัญชี/การจัดทำบัญชีด้วยโปรแกรมบัญชีสำเร็จรูป Express/Autoflight/Easy Acc
ความเชี่ยวชาญ : การบัญชีภาษีอากร/การบัญชีภาคธุรกิจผลิต/การบัญชีธุรกิจบริการ/การบัญชีกิจการซื้อมาขายไป/การวางระบบบัญชี/การจัดทำบัญชีด้วยโปรแกรมบัญชีสำเร็จรูป Express/Autoflight/Easy Acc
ผู้ร่วมโครงการ
นายสัจวัฒก์ วรโยธา คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : บริหารธุรกิจ (การภาษีอากร)
ประสบการณ์ : วางระบบบัญชี /บัญชีบริหาร/ภาษีอากร/ควบคุมและตรวจสอบภายใน
ความเชี่ยวชาญ : วางระบบบัญชี /บัญชีบริหาร/ภาษีอากร/ควบคุมและตรวจสอบภายใน
ผู้ร่วมโครงการ
นายมงคล กิตติวุฒิไกร คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : การบัญชี
ประสบการณ์ : - บัญชีภาครัฐ (โรงพยาบาล)
ความเชี่ยวชาญ : - บัญชีการเงิน - บัญชีบริหาร
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาววิลาสินี แสงคำพระ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : การบัญชี
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
การจัดจำหน่าย หมายถึง เส้นทางที่สินค้าหรือบริการ และการเป็นเจ้าของสินค้า หรือ บริการเคลื่อนย้ายจากผู้ผลิตไปสู่ผู้ซื้อผู้บริโภคและคนกลางประเภทต่างๆในช่องทางการตลาดเป็นกลไกต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทำให้สินค้าไหลผ่านจากผู้ผลิตไปสู่ผู้บริโภค ซึ่งวัตถุประสงค์ของการจัดจำหน่าย คือ การเชื่อมช่องว่างผู้ผลิตกับผู้บริโภคเมื่อผู้ผลิตสินค้าจำหน่ายให้กับผู้บริโภคผู้บริหารการตลาดจึงทุ่มเทจัดการ กับการจัดจำหน่ายเพื่อวัตถุประสงค์ในการสร้างอรรถประโยชน์ ต่างๆ เช่น อรรถประโยชน์ด้านรูปร่าง คือการที่ผู้บริโภคได้รับความพอใจในตัวรูปร่างของสินค้าและคุณสมบัติของตัวสินค้าอรรถประโยชน์ด้านสถานที่ อรรถประโยชน์ด้านเวลาอรรถประโยชน์ด้านเป็นเจ้าของ ซึ่ง การวางระบบการจัดจำหน่ายที่ดีจะช่วยให้ยอดขายเพิ่ม ลดสินค้าขาดมือให้น้อยลง สร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้ผลิตและลูกค้า เพิ่มการให้ส่วนลดในเรื่องการจัดส่งสินค้า ช่วยขยายเขตตลาดให้มากขึ้น ทำให้ฝ่ายขายให้ความสนใจในการสร้างลูกค้าให้มากการจัดระบบอย่างมีประสิทธ์ภาพทำให้ขายสินค้าได้ปริมาณมากขึ้นได้มีระบบการควบคุมบริหารสินค้าคลังที่ดีระบบการจัดจำหน่ายที่รอบคอบช่วยให้ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตกับลูกค้าดีขึ้น ผู้ผลิตและลูกค้าสามารถใช้เครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ ร่วมกัน เช่น คอนเทนเนอร์ทำให้จัดส่งสินค้าได้รวดเร็วการพัฒนาปรับปรุงการจัดจำหน่ายให้ดีขึ้น มีผลให้ผู้ผลิตสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายได้มาก ผู้ผลิตแบ่งส่วนให้กับลูกค้าในรูปของการซื้อสินค้ามากได้ส่วนลดการดำเนินระบบการจัดจำหน่ายที่ดีทำให้กิจการนำสินค้าไปขายตลาดที่อยู่ไกล ทำให้กิจการขายปริมาณเพิ่มขึ้น ดังนั้นหากผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน ซึ่งมีผลิตภัณฑ์ที่มีคุณค่า จากศิลปะหัตถกรรมพื้นบ้านรวมถึงทรัพยากรท้องถิ่นที่ทรงคุณค่า หากสามารถปรับปรุง และเพิ่มประสิทธิภาพส่วนผสมการตลาด มีกลยุทธ์ที่สามารถผลักดันสินค้าให้เข้าไปสู่ช่องทางการจำหน่าย ทำให้พ่อค้าทุกระดับและพนักงานขายร่วมมือกันช่วยขายสินค้า ตลอดจนการเลือกและบริหารช่องทางการจำหน่าย  การกระจายสินค้าอย่างมีประสิทธิภาพ ก็จะมีส่วนทำให้การบริหารการตลาดมีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้ หากสามารถเพิ่มประสิทธิภาพช่องการจัดจำหน่ายด้วยการขายสินค้าชนิดเดียวกันผ่านช่องทางการจำหน่ายหลาย ๆ ช่องทาง เพื่อให้สินค้ากระจายออกไปครอบคลุมพื้นที่อย่างทั่วถึงก็จะเป็นการช่วยส่งเสริมรายได้และอาชีพของชุมชนได้เป็นอย่างดี

วัตถุประสงค์
1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพช่องทางการจัดจำหน่ายให้กับผลิตภัณฑ์ชุมชนและผู้ประกอบการสินค้าโอท๊อป
2.เพื่อให้ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชนและผู้ประกอบการสินค้าโอท๊อปสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติได้จริง

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
วิสาหกิจชุมชนและผู้ประกอบการสินค้าโอท๊อปและบุคคลทั่วไปที่สนใจ
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
50 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ 1.ประชาสัมพันธ์โครงการ และเตรียมการอบรม 2..อบรมหลักการการดำเนินธุรกิจและหลักการตลาด ฝึกปฏิบัติการด้านการเพิ่มประสิทธิภาพช่องทางการจัดจำหน่ายแก่ วิสาหกิจชุมชน/ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชน สินค้าโอท๊อปประเมินผลโครงการ จัดทำรายงานสรุปโครงการ

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2560
2561
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.ประชาสัมพันธ์โครงการ และเตรียมการอบรม --- - --- --- 10,000.00
2. จัดอบรมการเพิ่มประสิทธิภาพช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน --- -- --- --- 51,500.00
3.จัดทำรายงานสรุปโครงการ --- -- --- --- 1,500.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2561 - 31 มีนาคม พ.ศ. 2561 รวมเวลา 83 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
10 มีนาคม พ.ศ. 2561
09.00 - 12.00 น. - พิธีเปิด - ชี้แจงวัตถุประสงค์และขอบข่ายกิจกรรมของโครงการ - กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์และละลายพฤติกรรม อ.ปวีณา ทองบุญยัง
10 มีนาคม พ.ศ. 2561
13.00 - 16.00 น. หลักการตลาดเบื้องต้น 4 P 7 P อ.ปวีณา ทองบุญยัง
11 มีนาคม พ.ศ. 2561
09.00 - 12.00 น. แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน อ.ปวีณา ทองบุญยังและคณะ
11 มีนาคม พ.ศ. 2561
13.00 - 16.00 น. แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน (ต่อ) อ.ปวีณา ทองบุญยังและคณะ
11 มีนาคม พ.ศ. 2561
16.00-17.00 พิธีปิดและมอบวุฒิบัตร อ.ปวีณา ทองบุญยังและคณะ

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : ผู้เข้าร่วมอบรมเข้าใจแนวคิดและความสำคัญของการเพิ่มประสิทธิภาพช่องทางการจัดจำหน่ายที่ส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของรายได้
ด้านสังคม : ได้เครือข่ายและความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและผู้ประกอบการ
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
50
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา การจัดการธุรกิจขชนาดย่อม
หลักสูตร บริหารธุรกิจ
นักศึกษาชั้นปี : 3-4
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน หลักการตลาดและการเขียนแผนธุรกิจด้านการตลาด
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด นักศึกษาสามารถเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 30 คน
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ มอบหมายให้นักศึกษา ศึกษาแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพช่องทางการจัดจำหน่ายจากการเข้าร่วมกิจกรรม โดยจัดทำเป็นรายงานกลุ่ม

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 30,600.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 28,800.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 7,200.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 1,200.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
7,200.00 บาท
-วิทยากรภายใน ( รวม 21,600.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
21,600.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 1,800.00 บาท )
1) ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยงานจำนวน 2 คน x จำนวน 3 ชม. x จำนวน 300.00 บาท/ชม.
=
1,800.00 บาท

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 25,900.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 3,900.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 3,000.00 บาท )
1) จำนวน 3 ครั้ง x จำนวน 2 คน x ครั้งละ 500.00 บาท
=
3,000.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 900.00 บาท )
1) จำนวน 3 วัน x จำนวน 2 วัน x วันละ 150.00 บาท
=
900.00 บาท

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 6,000.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 30.00 บาท x จำนวน 50 คน
=
6,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 10,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 100.00 บาท x จำนวน 50 คน
=
10,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 6,000.00 บาท )
1) ค่าจัดทำเอกสารประกอบการอบรม (50 คนๆ เล่มละ 50บาท
=
2,500.00 บาท
2) ค่าสาธารณูปโภค
=
3,500.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 6,500.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 1,000.00 บาท )
1) กระดาษ A 4
2 x 100 บาท
=
200 บาท
2) ปากกา
40 x 5 บาท
=
200 บาท
3) แฟ้มใส
40 x 15 บาท
=
600 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 4,000.00 บาท )
1) ค่าป้ายประชาสัมพันธ์
2 x 2,000 บาท
=
4,000 บาท

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 1,500.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
=
1,500.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 63,000.00 บาท