แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2561
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนและงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายการบริการวิชาการกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในด้านสังคมสูงวัย ด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษา ด้านการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ และการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่ออนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นางสาวณัชชา อักษรศรี คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : รัฐประศาสนาศาสตร์ บริหารองค์การ
ประสบการณ์ : จัดการประชุมวิชาการ / จัดแสดงนิทรรศการผลงานวิจัย ฯลฯ
ความเชี่ยวชาญ : บริหารโครงการ
หัวหน้าโครงการ

หลักการและเหตุผล
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี การได้รับพระราชานุญาตให้จัดตั้งเป็นศูนย์ประสานงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี โดยมีบทบาทหน้าที่ในการประสานงานและติดตามผลการดำเนินงานสนองพระราชดำริ อพ.สธ. ในภูมิภาค/จังหวัดนั้น ๆ บทบาทหลัก เพื่อช่วยแบ่งเบา อพ.สธ. โดยประสานงานกับหน่วยงานภายในพื้นที่ตามนโยบาย/เรืองที่ อพ.สธ. ส่วนกลางมอบหมาย ซึ่งงานหลักจะเป็นงานด้านการประสานงาน การจัดประชุมติดตามความก้าวหน้า การจัดการอบรมเชิงปฺฏิบัติการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนและงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น เพื่อให้โรงเรียนสมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน และองค์การบริหารส่วนตำบล มีความรู้ ความเข้าใจในแนวทาง วิธีการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน และงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ได้อย่างถูกต้องตามแนวทางการดำเนินงานของ อพ.สธ. รวมทั้งประสานงานกับหน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดำริ อพ.สธ. ในพื้นที่เพื่อให้เกิดการดำเนินงานตามเป้าหมาย ดังนั้น มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี หนึ่งในหน่วยงานสนองพระราชดำริฯ จึงเห็นควรให้มีการดำเนินการโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนและงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ

วัตถุประสงค์
1.เพื่อสนองพระราชดำริโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ
2.เพื่อสร้างความเข้าใจในงานของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี
3.เพื่อให้โรงเรียนสมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน และองค์การบริหารส่วนตำบล มีความรู้ ความเข้าใจในแนวทาง วิธีการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน และงานสำรวจและจัดทำฐานทรัพยากรท้องถิ่น ได้อย่างถูกต้องตามแนวทางการดำเนินงานของ อพ.สธ.

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
โรงเียนสมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
600 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการสำรวจและจัดทำฐานทรัพยากรท้องถิ่น 3 รุ่น รุ่นละ 4 วัน / 120 คน จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน 3 รุ่น รุ่นละ 4 วัน / 120 คน จัดการประชุมเตรียมความพร้อมขอรับป้ายพระราชทาน 2 ครั้ง ครั้งละ 60 คน

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2560
2561
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.ประชุมเตรียมความพร้อมในการดำเนินงาน -- --- --- --- 0.00
2.อบรมเชิงปฏิบัติการสำรวจและจัดทำฐานทรัพยากรท้องถิ่น ครั้งที่ 1 -- --- --- --- 0.00
3.อบรมเชิงปฏิบัติการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ครั้งที่ 1 -- --- --- --- 0.00
4.อบรมเชิงปฏิบัติการสำรวจและจัดทำฐานทรัพยากรท้องถิ่น ครั้งที่ 2 -- --- --- --- 0.00
5.อบรมเชิงปฏิบัติการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ครั้งที่ 2 --- -- --- --- 0.00
6.อบรมเชิงปฏิบัติการสำรวจและจัดทำฐานทรัพยากรท้องถิ่น ครั้งที่ 3 --- -- --- --- 0.00
7.อบรมเชิงปฏิบัติการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ครั้งที่ 3 --- --- -- --- 0.00
8.ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน --- --- -- -- 0.00
9.รายงานผลการดำเนินงาน --- --- --- -- 0.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2560 - 30 กันยายน พ.ศ. 2561 รวมเวลา 365 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
10 ตุลาคม พ.ศ. 2560
09.00 น. ความเป็นมาของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ และงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ความสำคัญของการเข้าร่วมสนองพระรา จากโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ
10 ตุลาคม พ.ศ. 2560
16.00 น. สรุปและนำเสนอผลการปฏิบัติการใบงานที่ ๑-๓ ให้คำแนะนำการดำเนินงาน ที่ปรึกษาประสานงานฯ
10 ตุลาคม พ.ศ. 2560
14.30 น. ปฏิบัติการ ใบงานที่ ๑ – ๓ จากโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ
10 ตุลาคม พ.ศ. 2560
13.00 น. ใบงานที่ ๑ – ๓ โดย เจ้าหน้าที่ อพ.สธ. ใบงานที่ ๑ การเก็บข้อมูลพื้นฐานในท้องถิ่น ใบงานที่ ๒ การเก จากโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ
10 ตุลาคม พ.ศ. 2560
11.00 น. แผนการบริหารจัดการงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น จากโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ
10 ตุลาคม พ.ศ. 2560
10.30 น. กระบวนการทำงาน พัฒนาและใช้ประโยชน์จากฐานทรัพยากร ท้องถิ่น แนวทางการบริหารจัดการงานฐานทรัพยากรท้องถิ่ จากโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ
11 ตุลาคม พ.ศ. 2560
08.30 น. ใบงานที่ ๔, ๘, ๙ ใบงานที่ ๔ การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน ใบงานที่ ๘ การเก็บข้อม จากโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ
11 ตุลาคม พ.ศ. 2560
10.30 น. ปฏิบัติการ ใบงานที่ ๔ ใบงานที่ ๘ - ๙ (ออกพื้นที่ หมู่ที่.... ตำบล..............) จากโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ
11 ตุลาคม พ.ศ. 2560
15.00 น. สรุปและนำเสนอผลการปฏิบัติการใบงานที่ ๔ ใบงานที่ ๘ – ๙ ให้คำแนะนำการดำเนินงาน ที่ปรึกษาประสานงานฯ
12 ตุลาคม พ.ศ. 2560
15.30 น. สรุปและนำเสนอผลการปฏิบัติการใบงานที่ ๕ – ๗ ให้คำแนะนำการดำเนินงาน ที่ปรึกษาประสานงานฯ
12 ตุลาคม พ.ศ. 2560
10.30 น. ปฏิบัติการ ใบงานที่ ๕ - ๗ (ออกพื้นที่ หมู่ที่.... ตำบล.....................) จากโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ
12 ตุลาคม พ.ศ. 2560
08.30 น. บรรยาย : ใบงานที่ ๕ - ๗ ใบงานที่ ๕ การเก็บข้อมูลการใช้ประโยชน์ของพืชในท้องถิ่น ใบงานที่ ๖ การเ จากโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ
13 ตุลาคม พ.ศ. 2560
08.30 น. การจัดการฐานข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่น จากโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ
13 ตุลาคม พ.ศ. 2560
09.30 น. ปฏิบัติการ : จัดทำทะเบียนพรรณไม้ในท้องถิ่น ทะเบียนภูมิปัญญาในท้องถิ่น : จัดทำทะเบียนสัตว์ในท้องถิ จากโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ
13 ตุลาคม พ.ศ. 2560
10.45 น. ปฏิบัติการ : รวบรวมข้อมูล ๙ ใบงาน บันทึกสู่ฐานข้อมูลฐานทรัพยากรท้องถิ่น จากโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ
13 ตุลาคม พ.ศ. 2560
13.00 น. การนำฐานข้อมูลไปใช้ประโยชน์ การติดตามและประเมินผล จากโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ
13 ตุลาคม พ.ศ. 2560
14.30 น. สรุปการฝึกอบรมปฏิบัติการสำรวจและจัดทำฐานทรัพยากรท้องถิ่น ที่ปรึกษาประสานงานฯ
13 ตุลาคม พ.ศ. 2560
15.30 น. พิธีปิด และมอบเกียรติบัตร

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : เสริมสร้างการเรียนรู้บนฐาน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ด้านสังคม : มีคุณธรรมจริยธรรมเป็นฐานของวิทยาการและปัญญา เกิดนักอนุรักษ์ พัฒนาบนฐานคุณธรรม
ด้านสิ่งแวดล้อม : เกิดจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช และทรัพยากร มีข้อมูลการเรียนรู้ทรัพยากรที่สามารถสื่อกันได้ทั่วประเทศ
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
600
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
0
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


-
การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 30,600.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 30,600.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 30,600.00 บาท )
1) จำนวน 30 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
18,000.00 บาท
2) จำนวน 12 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
12,600.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 537,300.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 172,800.00 บาท )
1) จำนวน 48 มื้อ x มื้อละ 30.00 บาท x จำนวน 120 คน
=
172,800.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 201,600.00 บาท )
1) จำนวน 24 มื้อ x มื้อละ 70.00 บาท x จำนวน 120 คน
=
201,600.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 162,900.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมารถบัส 3 คัน คันละ 2000 บาท 12 วัน
=
72,000.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมาถ่ายเอกสาร
=
84,460.00 บาท
3) ค่าจ้างเหมาทำไวนิล
=
6,440.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 62,100.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 26,900.00 บาท )
1) กระดาษ A 4
30 x 150 บาท
=
4,500 บาท
2) ปากกาลูกลื่น
2 x 200 บาท
=
400 บาท
3) กระดาษการ์ด
10 x 160 บาท
=
1,600 บาท
4) ซองเอกสารผูกเชือก
50 x 200 บาท
=
10,000 บาท
5) ดินสอ
50 x 30 บาท
=
1,500 บาท
6) ไม้บรรทัด
50 x 130 บาท
=
6,500 บาท
7) เทปใส
1 x 150 บาท
=
150 บาท
8) เทปโฟมอะคริลิกสองหน้า
2 x 150 บาท
=
300 บาท
9) สมุดกราฟ
5 x 270 บาท
=
1,350 บาท
10) ลวดเย็บ
2 x 100 บาท
=
200 บาท
11) ลวดเสียบกระดาษ
2 x 100 บาท
=
200 บาท
12) เชือกไนลอน
1 x 200 บาท
=
200 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 29,900.00 บาท )
1) หมึก 130 A
8 x 2,300 บาท
=
18,400 บาท
2) หมึก 85 A
5 x 2,300 บาท
=
11,500 บาท

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 5,300.00 บาท )
1) ถ่าน AAA
=
1,000.00 บาท
2) ต้นไม้
=
2,000.00 บาท
3) ด้าย
=
200.00 บาท
4) เข็มก้นทอง
=
100.00 บาท
5) ปลั้กไฟ
=
2,000.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 630,000.00 บาท