แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2561
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ โครงการสร้างกระบวนการเรียนรู้ในการคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างมีส่วนร่วมของชุมชน
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : พัฒนาระบบและกลไกการบริการวิชาการอย่างมีส่วนร่วมให้มีประสิทธิภาพ ตามนโยบาย/ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยและประเทศ
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แก่ชุมชน / สังคม / กลุ่มวิชาชีพ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายอนุวัฒน์ วัฒนพิชญากูล คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : สังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข
ประสบการณ์ : ทำงานวิจัย บริการวิชาการ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ด้านการแพทย์แผนไทย การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
ความเชี่ยวชาญ : การวิจัยเชิงคุณภาพ การประเมินโครงการ การวิจัยด้านการแพทยื์พื้นบ้าน การแพทย์ทางเลือก การแพทย์แผนไทย
หัวหน้าโครงการ
นายศักดิ์สิทธิ์ ศรีภา คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา :
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
ผู้ร่วมโครงการ
ผศ.ดร.แสวง วัชระธนกิจ คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : Pharmacy Healthcare Administration
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวรจเรศ เนตรทอง คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา :
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
เลขานุการ

หลักการและเหตุผล
ตามที่ในชุมชนอีสานพบปัญหาการกระจายยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่เหมาะสมและผิดกฎหมายจำนวนมาก ประกอบกับพฤติกรรมการใช้ยาของประชาชนก็ยังเสี่ยงต่อการได้รับอันตรายเรื่อยมาและค่อนข้างเปลี่ยนแปลงยาก ในขณะผลการดำเนินงานของเภสัชกรและพนักงานเจ้าหน้าที่ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพมีความน่าสนใจในหลายพื้นที่ จึงเห็นควรนำประสบการณ์ดังกล่าวมาถ่ายทอดให้กับชุมชนที่มีปัญหาและยังไม่ได้ดำเนินการเท่าที่ควร

วัตถุประสงค์
1.1.เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ แก่ประชาชน อาสาสมัคร เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขในชุมชนระดับหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด
2.2.เพื่อสร้างแนวทางการดำเนินกิจกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขในชุมชนอย่างมีส่วนร่วมของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน ชาวบ้าน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข นักวิชาการ ในพื้นที่ 4 ตำบลรอบมหาวิทยาลัย คือ ต.ธาตุ ต.เมืองศรีไค ต.คำขวาง ต.โพธิ์ใหญ่ อ.วารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
เจ้าหน้าที่สาธารณสุข นักวิชาการ ผู้นำชุมชน อสม. ประชาชน
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
200 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1 การสรุปบทเรียนที่ผ่านมาของชุมชน วิธีการดำเนินงาน การประชุมสรุปบทเรียน จากในชุมชนและนอกชุมชน กลุ่มเป้าหมาย 50 คน 2. การค้นหาสถานการณ์ปัญหาใหม่ วิธีการดำเนินงาน สำรวจข้อมูลปัญหาใหม่ ในชุมชน ด้วยแบบสำรวจและการสัมภาษณ์ การสังเกตุอย่างมีส่วนร่วม 3. การระดมแนวทางการดำเนินงานใหม่ วิธีการดำเนินงาน ประชุมอย่างมีส่วนร่วมในแต่ละหมู่บ้าน ค้นหาความต้องการและแนวทางใหม่ๆ 4. การอบรมเชิงปฏิบัติการ สร้างกระบวนการเรียนรู้ วิธีการดำเนินงาน จัดกิจกรรมอบรมและศึกษาดูงาน กลุ่มเป้าหมาย 50 คน จาก 4 ตำบล 5. การสุขศึกษาประชาสัมพันธ์แบบมีส่วนร่วม วิธีการดำเนินงาน จัดการประชุมประชาคมในหมู่บ้าน สร้างความเข้าใจ ด้วยกลวิธีการสุขศึกษาแบบสือสารสองทาง จำนวน 2 ครั้ง ต่อหมุู่่บ้าน 6. การนำเสนอผลการดำเนินงาน วิธีการดำเนินงาน สรุป ผลการดำเนินงานในระดับอำเภอจังหวัด กลุ่มเป้าหมาย 50 คน นประกอบด้วย อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน ชาวบ้าน ในพื้นที่ 4 ตำบลรอบมหาวิทยาลัย คือ ต.ธาตุ ต.เมืองศรีไค ต.คำขวาง ต.โพธิ์ใหญ่ อ.วารินชำราบ จำนวน 4 ครั้ง ครั้งละ 20 คน รวม 80 คน 2. ดำเนินการสำรวจข้อมูล เก็บข้อมูลผลการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชนและโรงเรียนใน 4 ตำบล

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2560
2561
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.การสรุปบทเรียนผลการดำเนินงานที่ผ่านมาของชุมชน - --- --- --- 10,000.00
2. การค้นหาสถานการณ์ปัญหาใหม่ --- --- --- 10,000.00
3.การระดมแนวทางการดำเนินงานใหม่ --- -- --- --- 20,000.00
4.การอบรมเชิงปฏิบัติการ สร้างกระบวนการเรียนรู้ --- --- -- --- 40,000.00
5.การสุขศึกษาประชาสัมพันธ์แบบมีส่วนร่วม --- --- -- --- 20,000.00
6.การนำเสนอผลการดำเนินงาน --- --- - --- 25,000.00
7.สรุป ประเมินผล และส่งรายงานการศึกษา --- --- --- -- 5,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 - 31 สิงหาคม พ.ศ. 2561 รวมเวลา 304 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -ประชาชนมีการประหยัดค่าใช้จ่ายด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ที่ไม่จำเป็น ราคาแพง และมีทางเลือกในการบริโภคเพื่อสุขภาพ
ด้านสังคม : ผู้นำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข ประชาชนในหมู้บ้าน มีความรู้ ความตื่นตัวในการบริโภคยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -เกิดเครือข่ายความร่วมมือ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขระหว่างชุมชน ตำบล อำเภอและจัวหวัดใกล้เคียง

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
300
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
433 บาท/ คน

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา เวชศาสตร์ชุมชน
หลักสูตร เภสัชศาสตรบัณฑิต
นักศึกษาชั้นปี : 5
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน นำกรณีปัญหามาเป็นเนื้อหาการสอน
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ มอบหมายให้นักศึกษา ศึกษาสภาพชุมชน

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 38,000.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 30,600.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 14,400.00 บาท )
1) จำนวน 3 วัน x จำนวน 2 ชม. x ชม.ละ 1,200.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
14,400.00 บาท
-วิทยากรภายใน ( รวม 16,200.00 บาท )
1) จำนวน 3 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
16,200.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 7,400.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 3,200.00 บาท )
1) จำนวน 8 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
3,200.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 4,200.00 บาท )
1) จำนวน 7 วัน x จำนวน 5 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
4,200.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 82,360.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 15,360.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 12,000.00 บาท )
1) จำนวน 4 ครั้ง x จำนวน 3 คน x ครั้งละ 1,000.00 บาท
=
12,000.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 3,360.00 บาท )
1) จำนวน 7 วัน x จำนวน 2 วัน x วันละ 240.00 บาท
=
3,360.00 บาท

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 36,000.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 30.00 บาท x จำนวน 300 คน
=
36,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 24,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 80.00 บาท x จำนวน 300 คน
=
24,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 7,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 คน x จำนวน 1 เดือน x เดือนละ 7,000.00 บาท
=
7,000.00 บาท

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 9,640.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 3,000.00 บาท )
1) ค่าวัสดุสำนักงาน
1 x 3,000 บาท
=
3,000 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 1,000.00 บาท )
1) ค่าวัสดุโฆษณาและเเผยแพร่
1 x 1,000 บาท
=
1,000 บาท

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 3,000.00 บาท )
1) ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์
1 x 3,000 บาท
=
3,000 บาท

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 2,640.00 บาท )
1) ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์
=
2,640.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 130,000.00 บาท