แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2561
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ การพัฒนาทักษะผู้เรียนให้อ่านออกเขียนได้และอ่านอ่านเขียนคล่อง
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายการบริการวิชาการกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในด้านสังคมสูงวัย ด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษา ด้านการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ และการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้แก่เด็ก เยาวชนตามแนวพระราชดำริฯ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายภาสพงศ์ ผิวพอใช้ คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : หลักสูตรและการสอน
ประสบการณ์ : เคยเป็นวิทยากรโครงการไทยเข้มแข็ง คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ความเชี่ยวชาญ : การสอนภาษาไทย
หัวหน้าโครงการ
นางสาวศุภมน อาภานันท์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : -
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนดให้มีการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.๒๕๕๒-๒๕๖๑) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ขับเคลื่อนตามนโยบายดังกล่าวด้วยการกำหนดจุดเน้นการ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่ครอบคลุมทั้งด้านความสามารถ ทักษะ และคุณลักษณะสำหรับใช้เป็นกลไกในการ ขับเคลื่อน เพื่อยกระดับคุณภาพของผู้เรียน โดยเน้นเรื่องการอ่านออกเขียนได้ เป็นวาระแห่งชาติ โดย กองวิจัยทางการศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประเมินสภาพการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย ในโรงเรียนประถมศึกษาแล้วพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยของนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับค่อนข้างต่ำ สมรรถภาพที่มีปัญหาได้แก่ ทักษะการอ่านและการเขียน ปัญหา คือการออกเสียงพยัญชนะ สระ คำควบกล้ำไม่ชัดเจน การแจกลูกสะกดคำ การใช้หลักภาษาไทย ไม่ถูกต้อง การแจกลูกสะกดคำเป็นเรื่องจำเป็นมากสำหรับผู้เริ่มเรียน หากครูไม่ได้สอนแจกลูกสะกดคำแก่นักเรียนในระยะเริ่มเรียน การอ่านของนักเรียนจะขาดหลักเกณฑ์การประสมคำ เมื่ออ่านหนังสือมากขึ้น ทำให้สับสนอ่านหนังสือไม่ออก เขียนหนังสือผิด ซึ่งเป็นปัญหามากของนักเรียนไทย ในปัจจุบัน ผลจากการอ่านหนังสือไม่ออก เขียนไม่ได้ ย่อมส่งผลกระทบต่อการเรียนการสอนในวิชาอื่น ๆ ด้วย เพราะการอ่านเป็นเครื่องมือสำหรับการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การสอนภาษาไทยให้บรรลุวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพนั้น จำเป็นต้องฝึกทักษะต่าง ๆ ให้สัมพันธ์กันทั้งการรับเข้ามา คือ การอ่านและการฟังกับทักษะการถ่ายทอดออกไป คือ การพูดและการเขียน ในด้านการเขียน ถือเป็นทักษะที่ยุ่งยากซับซ้อนและเป็นทักษะถ่ายทอดที่สำคัญต่อการสื่อสารอย่างยิ่ง

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้รับความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักและวิธีการจัดการเรียนการสอนอ่านเขียนในระดับประถมศึกษา
2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้นำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนอ่านเขียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
1.ครูอาจารย์ผู้สอนระดับประถมศึกษา จากสถาบันการศึกษาในเขตอีสานใต้ และผู้สนใจทั่วไป 2. คณาจารย์และบุคลากรคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
100 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
กิจกรรมโครงการ เป็นการจัดอบรมสัมมนาให้ความรู้ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น วิธีดำเนินงาน ใช้ การประชุมวางแผนงาน และร่วมกันดำเนินงาน

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2560
2561
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.ประชุมวางแผน --- --- --- 0.00
2.ประสานงานวิทยากรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง --- --- --- 10,000.00
3.ประชาสัมพันธ์ และรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ --- --- --- 10,000.00
4.จัดสัมมนา สรุปผลโครงการ และเขียนรายงาน --- --- --- 49,800.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2561 - 22 มิถุนายน พ.ศ. 2561 รวมเวลา 1 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
22 มิถุนายน พ.ศ. 2561
08.00-08.30 น. ลงทะเบียน
22 มิถุนายน พ.ศ. 2561
09.00-10.30 น. การบรรยายเรื่อง "การจัดการเรียนการสอนเพื่อผู้เรียนอ่านออกเขียนได้" รศ.อิงอร สุพันธุ์วณิช และคณะ
22 มิถุนายน พ.ศ. 2561
10.30-10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง
22 มิถุนายน พ.ศ. 2561
10.45-12.00 น. การบรรยายเรื่อง "การจัดการเรียนการสอนเพื่อผู้เรียนอ่านออกเขียนได้" (ต่อ) และอภิปราย/ซักถาม รศ.อิงอร สุพันธุ์วณิช และคณะ
22 มิถุนายน พ.ศ. 2561
12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
22 มิถุนายน พ.ศ. 2561
13.00-14.30 น. การบรรยายเรื่อง "การจัดการเรียนการสอนเพื่อผู้เรียนอ่านง่ายเขียนคล่อง" อ.ดร.ภาสพงศ์ ผิวพอใช้
22 มิถุนายน พ.ศ. 2561
14.30-14.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง
22 มิถุนายน พ.ศ. 2561
14.45-16.00 น. การบรรยายเรื่อง "การจัดการเรียนการสอนเพื่อผู้เรียนอ่านง่ายเขียนคล่อง" (ต่อ) อภิปราย/ซักถาม อ.ดร.ภาสพงศ์ ผิวพอใช้
22 มิถุนายน พ.ศ. 2561
16.45-17.00 น. มอบของที่ระลึกแก่วิทยากร กล่าวขอบคุณ และกล่าวปิดงาน

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : ได้บริการวิชาการให้สถาบันการศึกษาในเขตพื้นที่บริการ เป็นการสร้างเครือข่ายระหว่างมหาวิทยาลัยกับชุมชน
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้รับความรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
100
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา วิชา 1411 206 วาทการ
หลักสูตร ภาษาไทยและการสื่อสาร
นักศึกษาชั้นปี : 1
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน -
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด -
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ นักศึกษามีความมั่นใจในการพูด กล้าแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ และสามารถพูดได้อย่างถูกต้องตามหลักการพูดในสถานการณ์ต่างๆ ที่กำหนดให้

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 13,760.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 7,200.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 4,800.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
4,800.00 บาท
-วิทยากรภายใน ( รวม 2,400.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
2,400.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 6,560.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 800.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
800.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 5,760.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 12 คน
=
5,760.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 45,400.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 20,400.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 18,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 ครั้ง x จำนวน 2 คน x ครั้งละ 4,000.00 บาท
=
16,000.00 บาท
2) จำนวน 4 ครั้ง x จำนวน 2 คน x ครั้งละ 250.00 บาท
=
2,000.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 2,400.00 บาท )
1) จำนวน 1 คืน x จำนวน 2 ห้อง x ห้องละ 1,200.00 บาท
=
2,400.00 บาท
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 5,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 100 คน
=
5,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 8,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 80.00 บาท x จำนวน 100 คน
=
8,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 12,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 คน x จำนวน 1 เดือน x เดือนละ 6,000.00 บาท
=
12,000.00 บาท

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 10,640.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 10,640.00 บาท )
1) ค่าวัสดุทั่วไป
=
10,640.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 69,800.00 บาท